วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Z11 โลกที่เป็นธรรมและยั่งยืน

Toward a Post-Growth Society

It’s business as usual that’s the utopian fantasy, while creating something very new and different is the pragmatic way forward

Thursday, July 7, 2011 by YES! Magazine
สู่สังคมหลังการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ทุกอย่างยังคงดำเนินไปเหมือนเดิมตามจินตนาการเรื่องสังคมในอุดมคติ (ยูโทเปีย) เพียงแต่สร้างสรรค์บางอย่างที่ใหม่และแตกต่าง ให้เป็นหนทางเดินหน้าที่ปฏิบัติได้อย่างจริงจัง
โดย เจมส์ กุสตาฟ สเป็ธ, YES! Magazine,   7 กค 2011
Today, the reigning policy orientation holds that the path to greater well-being is to grow and expand the economy. Productivity, profits, the stock market, and consumption: all must go continually up. This growth imperative trumps all else. It is widely believed that growth is always worth the price that must be paid for it—even when it undermines families, jobs, communities, the environment, and our sense of place and continuity.
     "Building the strength needed for change requires, first of all, a political fusion among progressives," writes Speth. "And that fusion should start with a unified agenda. Such an agenda would embrace a profound commitment to social justice and environmental protection, a sustained challenge to consumerism and commercialism and the lifestyles they offer, a healthy skepticism of growthmania, a democratic redefinition of what society should be striving to grow, a challenge to corporate dominance and a redefinition of the corporation and its goals, and a commitment to an array of pro-democracy reforms in campaign finance, elections, the regulation of lobbying, and much more."

The Limits of Growth
But an expanding body of evidence is now telling us to think again. Economic growth may be the world’s secular religion, but for much of the world it is a god that is failing—underperforming for billions of the world’s people and, for those in affluent societies, now creating more problems than it is solving. The never-ending drive to grow the overall U.S. economy hollows out communities and the environment; it fuels a ruthless international search for energy and other resources; it fails at generating jobs; and it rests on a manufactured consumerism that is not meeting the deepest human needs. Americans are substituting growth and consumption for dealing with the real issues—for doing things that would truly make us and the country better off. Psychologists have pointed out, for example, that while economic output per person in the United States has risen sharply in recent decades, there has been no increase in life satisfaction and levels of distrust and depression have increased substantially.
     We need to reinvent the economy, not merely restore it. The roots of our environmental and social problems are systemic and thus require transformational change. Sustaining people, communities, and nature must henceforth be seen as the core goals of economic activity, not hoped for byproducts of an economy based on market success, growth for its own sake, and modest regulation. That is the paradigm shift we seek.
     For the most part, reformers have worked within this current system of political economy, but what is needed is transformative change in the system itself. The case for immediate action on issues like climate change, job creation, and unemployment extension is compelling, but the big environmental and social challenges we face will not yield to problem-solving incrementalism. Progressives have gone down the path of incremental reform for decades. We have learned that it is not enough.

Growing Jobs and Well-Being, Not the Economy
It is time for America to move to a post-growth society where working life, the natural environment, our communities and families, and the public sector are no longer sacrificed for the sake of mere GDP growth; where the illusory promises of ever-more growth no longer provide an excuse for neglecting to deal generously with our country’s compelling social needs; and where true citizen democracy is no longer held hostage to the growth imperative.
     Many of the policies that would help grow the kind of society most of us want to live in would actually slow GDP growth. For example, if productivity gains are taken as shorter worktime, personal incomes and overall economic growth can stabilize while quality of life increases. Juliet Schor points out that workers in Europe put in about 300 fewer hours each year than Americans.
     Other policies that would point us in the right direction:
·   greater labor protections, job security, and benefits, including generous parental leaves;
·   guarantees to part-time workers and combining unemployment insurance with part-time work during recessions;
·   restrictions on advertising;
·   a new design for the twenty-first-century corporation, one that embraces rechartering, new ownership patterns, and stakeholder primacy rather than shareholder primacy;
·   strong social and environmental provisions in trade agreements;
·   rigorous environmental, health and consumer protection, including full incorporation of environmental and social costs in prices—for example through mandated caps or taxes on emissions and extractions;
·   greater economic and social equality, with genuinely progressive taxation of the rich (including a progressive consumption tax) and greater income support for the poor;
·   heavy spending on neglected public services;
·   and initiatives to address population growth at home and abroad.
Taken together, these policies would undoubtedly slow GDP growth, but well-being and quality of life would improve, and that’s what matters.
     Of course, it is clear that even in a post-growth America, many things do indeed need to grow: the availability of good jobs; the incomes of the poor and working Americans; access to health care and the efficiency of its delivery; education, research and training; security against the risks of illness, job loss, old age and disability; investment in public infrastructure and in environmental protection; the deployment of climate-friendly and other green technologies; the restoration of ecosystems and local communities; non-military government spending at the expense of military spending; international assistance for sustainable, people-centered development for the half of humanity that lives in poverty.
     Jobs and meaningful work top this list because they are so important and unemployment is so devastating. The availability of jobs, the well-being of people, and the health of communities should not be forced to await the day when overall economic growth might deliver them. It is time to shed the view that government mainly provides safety nets and occasional Keynesian stimuli. We must insist that government have an affirmative responsibility to ensure that those seeking decent paying jobs find them. The surest, and also the most cost-effective, way to that end is direct government spending—investments and incentives targeted at creating jobs in areas where there is high social benefit. Creating new jobs in areas of democratically determined priority is certainly better than trying to create jobs by pump priming aggregate economic growth, especially in an era when increases in GDP and productivity often don’t produce jobs.
     Beyond policy change, another hopeful path into a sustainable and just future is to seed the landscape with innovative models. One of the most remarkable and yet under-noticed things going on in the United States today is the proliferation of innovative models of “local living” economies, sustainable communities and transition towns, and for-benefit businesses which prioritize community and environment over profit and growth. The community-owned Evergreen Cooperative in Cleveland is a wonderful case in point. As Gar Alperovitz and his colleagues have pointed out, state and federal programs can be crafted to support community development and finance corporations, local banks, community land trusts, employee and consumer ownership, local currencies and time dollars, municipal enterprise, and non-profits in business.

We Won’t Miss Growth
Running parallel to these changes in policy must be a change in national values. In particular, it’s time to move beyond our runaway consumerism. There are mounting environmental and social costs of American affluence, extravagance, and wastefulness. Even our larger homes and lots are too small to contain all the stuff we are accumulating. The self-storage industry didn’t exist until the early 1970s, but it has grown so rapidly that its floor space would now cover an area the size of Manhattan and San Francisco combined. We have a disease, affluenza, from which we need a speedy recovery.
     The good news is that more and more people sense at some level that there’s a great misdirection of life’s energy. We know we’re slighting the things that truly make life worthwhile. One survey found that 81 percent of Americans think the country is too focused on shopping and spending; 88 percent say American society is too materialistic.
     Psychological studies show that materialism is toxic to happiness, that more income and more possessions don’t lead to lasting gains in our sense of well-being or satisfaction with our lives. What does make us happy are warm personal relationships, and giving rather than getting.
     Sustaining people, communities, and nature must henceforth be seen as the core goals of economic activity, not hoped for byproducts of an economy based on market success, growth for its own sake, and modest regulation
     Building the strength needed for change requires, first of all, a political fusion among progressives, and that fusion should start with a unified agenda. Such an agenda would embrace a profound commitment to social justice and environmental protection, a sustained challenge to consumerism and commercialism and the lifestyles they offer, a healthy skepticism of growthmania, a democratic redefinition of what society should be striving to grow, a challenge to corporate dominance and a redefinition of the corporation and its goals, and a commitment to an array of pro-democracy reforms in campaign finance, elections, the regulation of lobbying, and much more. A common agenda would also include an ambitious set of new national indicators beyond GDP to inform us of the true quality of life in America. We tend to get what we measure, so we should measure what we want.
     If some of the ideas just presented seem politically impracticable today, just wait until tomorrow. Soon it will be clear to more and more people that it’s business as usual that’s the utopian fantasy, while creating something very new and different is the practical, pragmatic way forward.
     I doubt that we’ll miss our growth fetish after we say good-bye to it.
     This article was adapted for YES! Magazine, a national, nonprofit media organization that fuses powerful ideas with practical solutions for a just and sustainable world, from a speech Speth gave to the E.F. Schumacher Society.


This work is licensed under a Creative Commons License
ทุกวันนี้ ทิศทางนโยบายที่ครองราชย์อยู่ ยึดมั่นว่า หนทางสู่ความผาสุกยิ่งๆ ขึ้น คือ การเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจ    ผลิตผล กำไร ตลาดหุ้น และการบริโภค: ล้วนต้องเพิ่มให้มากขึ้นเรื่อยๆ   คำสั่งให้โตนี้ อยู่เหนือทุกสิ่งนอกพ้นจากนี้   มันเป็นความเชื่อที่แผ่ซ่าน ครอบคลุมไปทั่วว่า การโตนั้น ย่อมต้องคุ้มราคาที่จะต้องจ่ายเพื่อให้ได้มันมาเสมอแม้ว่ามันจะกัดเซาะครอบครัว การงาน ชุมชน สิ่งแวดล้อม และความรู้สึกของเราเกี่ยวกับสถานที่กับความต่อเนื่อง (กาลเทศะ?)
     การสร้างความเข้มแข็งที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนแปลง จะต้องมีประการแรก--การหลอมรวมเชื่อมร้อยเชิงการเมืองระหว่างพวกหัวก้าวหน้า สเป็ธ เขียน  และการหลอมรวมนั้นควรจะเริ่มต้นด้วยวาระที่มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน  วาระดังกล่าว จะโอบความรู้สึกรับผิดชอบผูกพันอย่างลึกซึ้ง ต่อความเป็นธรรมในสังคม และการป้องกันสิ่งแวดล้อม  อันเป็นการท้าทายที่ยั่งยืน ต่อลัทธิบริโภคนิยมและพาณิชย์นิยม รวมทั้งลีลาชีวิตที่พวกมันเสนอให้   ความสงสัยกังขาอย่างสร้างสรรค์ต่อความคลั่งไคล้การโต  การให้นิยามใหม่ในครรลองประชาธิปไตยว่า สังคมควรหมั่นพากเพียรปลูก/ขยายอะไร  การท้าทายความครอบงำของบรรษัท และการนิยามใหม่เกี่ยวกับบรรษัทและเป้าหมายของมัน  และความรับผิดชอบผูกพันต่อรายการทั้งหลายเพื่อการปฏิรูปที่เข้าข้างประชาธิปไตย ในการรณรงค์ด้านการเงิน การเลือกตั้ง การวิ่งเต้นชักชวนให้ สส สนับสนุนกฎข้อบังคับ และอื่นๆ อีกมากมาย

ความจำกัดของการโต
มีหลักฐานมากขึ้นทุกวันที่บอกให้พวกเราคิดทบทวนให้ดี  การเติบโตทางเศรษฐกิจ อาจเป็นศาสนาฆราวาสของโลก แต่สำหรับชาวโลกส่วนใหญ่ มันเป็นพระเจ้าที่ล้มเหลว--ไม่สามารถแสดงตามบทสำหรับชาวโลกหลายพันล้าน และสำหรับสังคมที่ร่ำรวย มันกำลังสร้างปัญหามากกว่าที่มันจะแก้ได้   แรงขับที่ไม่เคยหยุด เพื่อให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ โต ได้ทำให้ชุมชนและสิ่งแวดล้อมกลวงเป็นโพรง  มันได้โหมกระพือให้ออกไล่ล่าอย่างอำมหิตในระหว่างประเทศ เพียงเพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงานและวัตถุดิบอื่นๆ   มันล้มเหลวที่จะสร้างงาน  และมันนอนกินอยู่บนลัทธิบริโภคผลิตผลจากอุตสาหกรรม ที่ไม่สามารถสัมผัสความจำเป็น/ต้องการที่ลึกที่สุดของมนุษย์   ชาวอเมริกัน กำลังแทนที่การโตและบริโภคนิยมนี้ ด้วยการต่อกรกับประเด็นจริง--เพื่อทำสิ่งที่จะทำให้พวกเราและประเทศชาติดีขึ้นจริงๆ    ยกตัวอย่าง นักจิตวิทยาได้ชี้ให้เห็นว่า ในขณะที่ผลลัพธ์เชิงเศรษฐกิจต่อหัวในสหรัฐฯ ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในหลายทศวรรษที่ผ่านมา  ความพึงพอใจในชีวิตนั้น หาได้เพิ่มตามไปด้วยไม่ และระดับความระแวงและความหดหู่เศร้าสร้อยกลับเพิ่มมากขึ้น
     พวกเราจำเป็นต้องประดิษฐ์สรรสร้างเศรษฐกิจใหม่ ไม่ใช่แค่ซ่อมแซมปฏิสังขรณ์มัน   รากเหง้าปัญหาเชิงสิ่งแวดล้อมและสังคมฝังอยู่ในโครงสร้าง จึงจำเป็นต้องมีการแปรเปลี่ยนถึงระดับโครงสร้าง    การทำให้ประชาชน ชุมชน และธรรมชาติยั่งยืน จะต้องเป็นเป้าหมายแกนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ---ไม่ใช่แค่หวังว่า มันจะเป็นผลพลอยได้ของเศรษฐกิจที่อาศัยความสำเร็จของตลาด--ที่ต้องเติบโตเพื่อตัวมันเอง และมีกฎข้อบังคับพอสมควร   นี่คือกรอบคิดใหม่ที่พวกเราแสวงหากัน
    ในภาพใหญ่ นักปฏิรูปทั้งหลายได้ทำงานภายในระบบเศรษฐกิจการเมืองปัจจุบัน แต่สิ่งที่จำเป็น คือ การเปลี่ยนแปลงที่แปรเปลี่ยนตัวระบบเอง  กิจที่ต้องเริ่มปฏิบัติการทันที ได้แก่ สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง การสร้างงาน และการว่างงานแบบขยาย ล้วนเป็นเรื่องด่วน  แต่สิ่งท้าทายใหญ่หลวงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ที่พวกเรากำลังเผชิญอยู่ ย่อมไม่ลดราลง ด้วยวิธีการแก้ปัญหาแบบค่อยเป็นค่อยไป   พวกหัวก้าวหน้า ได้ใช้เส้นทางการปฏิรูปแบบค่อยเป็นค่อยไปมาหลายทศวรรษแล้ว  พวกเราได้บทเรียนแล้วว่า มันไม่พอ
    
ขยายการเติบโตของงานและความอยู่ดีมีสุข ไม่ใช่เศรษฐกิจ
ถึงเวลาแล้วที่อเมริกาจะต้องเคลื่อนเข้าสู่ยุคหลังการโต อันเป็นทีๆ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ชุมชนและครอบครัวของเรา และภาคสาธารณะ จะไม่ต้องพลีชีพเพียงเพื่อให้จีดีพีโตขึ้น  ที่ๆ สัญญาจอมปลอมของการโตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด จะไม่เป็นข้ออ้างต่อไปเพื่อมองข้ามหรือละเลยการจัดการอย่างเอื้ออารี กับความบีบคั้นในสังคมของเรา  และที่ๆ ประชาธิปไตยพลเมืองที่แท้จริง จะไม่ถูกกักเป็นตัวประกันเพียงเพื่อให้เศรษฐกิจโตต่อไป
     หลายๆ นโยบายที่อาจช่วยปลูก/ขยายสังคมประเภทที่พวกเราส่วนใหญ่ต้องการที่จะอาศัยอยู่นั้น ที่จริงน่าจะมีการขยายตัวของจีดีพีอย่างช้าๆ  ยกตัวอย่าง หากผลิตผลที่เกิดขึ้น ได้มาด้วยเวลาที่สั้นลง  รายได้ส่วนบุคคล และการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโดยรวม ก็จะมีความเสถียร ในขณะที่คุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น   จูเลียต ชอร์ ชี้ให้เห็นว่า ประชาชนในยุโรปใช้เวลาน้อยกว่าชาวอเมริกัน 300 ชั่วโมงต่อปี
     นโยบายอื่นๆ ที่จะเป็นเข็มชี้ให้พวกเราเดินถูกทาง
-       การเพิ่มขึ้นของการปกป้องแรงงาน ความมั่นคงทางการงาน และผลประโยชน์ รวมถึง การชดเชยอย่างเอื้อเฟื้อต่อการลาคลอด/ทำหน้าที่พ่อแม่
-       การให้หลักประกันงานกึ่งเวลา และรวมการประกันการว่างงานกับงานกึ่งเวลาในระหว่างภาวะตกต่ำทางเศรษฐกิจ
-       จำกัดการโฆษณา
-       ออกแบบใหม่สำหรับระบบบรรษัทในยุคศตวรรษที่ 21 ให้เป็นผู้ยอมรับการทำสัญญาใหม่ รูปแบบใหม่ของความเป็นเจ้าของ และให้ความสำคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เหนือผู้ถือหุ้น
-       แรงจูงใจสำหรับการผลิตและการบริโภคท้องถิ่น ที่คนท้องที่เป็นเจ้าของ
-       เงื่อนไขที่เข้มแข็งด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในข้อตกลงการค้า
-       การปกป้องที่เข้มงวดสำหรับสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และผู้บริโภค รวมทั้งการผนวกการคำนวณราคา/มูลค่า/ต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเช่น การกำหนดเพดาน หรือภาษีในการปล่อยหรือสกัด
-       ความเท่าเทียมมากขึ้นด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้วยระบบภาษีก้าวหน้าที่แท้จริงสำหรับคนรวย (รวมทั้งภาษีบริโภคก้าวหน้า) และการเสริมรายได้ที่มากขึ้นสำหรับคนยากจน
-       จัดงบประมาณให้มากขึ้นสำหรับการใช้จ่ายในภาคสาธารณะที่ถูกละเลย
-       ริเริ่มกิจกรรมที่จะแก้ไขปัญหาการเพิ่มประชากรในประเทศและต่างประเทศ

ถ้าทำจริงกับนโยบายทั้งหมด ไม่ต้องสงสัยเลย จีดีพีจะโตช้าลง แต่ความอยู่ดีมีสุข และคุณภาพชีวิตย่อมดีขึ้น และนั่นเป็นเรื่องสำคัญ
     แน่นอน มันชัดเจนอยู่แล้วว่า แม้แต่ในอเมริกายุคหลังการโต หลายสิ่งหลายอย่าง ก็ยังต้องงอกเงยต่อไป  การงานที่ดี  รายได้ของคนยากจนและคนทำงาน  การเข้าถึงการดูแลสุขภาพ และประสิทธิภาพในการให้บริการ  การศึกษา การวิจัย และการฝึกอบรม  ความมั่นคงที่คุ้มครองความเสี่ยงในโรคภัย การสูญเสียงาน ชราภาพ และความพิการ  การลงทุนในระบบสาธารณูปโภคและในการปกป้องสิ่งแวดล้อม  การใช้เทคโนโลยีเขียวอื่นๆ ที่เป็นมิตรต่อภูมิอากาศ  การฟื้นฟูระบบนิเวศน์ และชุมชนท้องถิ่น  การใช้จ่ายของรัฐบาลที่ไม่เกี่ยวกับกองทัพด้วยงบกองทัพ  การให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สำหรับมนุษยชาติกึ่งหนึ่งที่ยังมีชีวิตในความยากไร้
     งานและกิจที่มีความหมาย เป็นอันดับแรกในรายการ เพราะมันสำคัญมาก และการว่างงานก่อให้เกิดความเสียหายมากมาย  การมีงานให้ทำ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชน และสุขภาพของชุมชน ไม่ควรจะต้องเป็นการรอคอยภาคบังคับ ว่าวันหนึ่ง เมื่อเศรษฐกิจทั้งระบบโตพอแล้ว ก็อาจจะให้บริการพวกเขาได้   มันถึงเวลาแล้วที่จะสลัดทิ้งมุมมองที่ว่า รัฐบาลเป็นตัวหลักในการให้ ร่างแหแห่งความปลอดภัย และคอยกระตุ้นเศรษฐกิจให้โตเป็นระยะ  พวกเราจะต้องผลักดันให้รัฐบาลมีความรับผิดชอบอย่างไม่มีการเลือกปฏิบัติในรูปแบบต่างๆ ที่จะทำให้มั่นใจว่า ผู้หางานที่มีค่าจ้างเหมาะสม ย่อมหางานทำได้  วิธีที่เป็นไปได้มากที่สุด และก็คุ้มทุนที่สุด เพื่อยุติการใช้จ่ายตรงของรัฐบาล คือ การลงทุนและแรงจูงใจที่พุ่งเป้าไปที่การสร้างงาน ในปริมณฑลที่ให้ประโยชน์ทางสังคมสูง   การสร้างงานใหม่ ในเรื่องที่ได้ถูกตัดสินตามครรลองประชาธิปไตยให้เป็นลำดับต้นๆ ย่อมดีกว่าความพยายามที่จะเร่งให้เกิดตัวเลขรวมยอดชี้การโตของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างย่ง ในยุคที่การเพิ่มจีดีพีและกำลังการผลิต มักไม่ได้สร้างงาน
     เหนือการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย หนทางแห่งความหวังสู่อนาคตที่ยั่งยืนและเป็นธรรม คือ การหว่านเมล็ดในภูมิทัศน์ด้วยนวัตกรรม   สิ่งหนึ่งที่ยอดเยี่ยมและยังไม่เป็นที่สังเกต ที่กำลังเกิดขึ้นในสหรัฐฯ ทุกวันนี้ คือ การเพิ่มขยายอย่างรวดเร็วของรูปแบบนวัตกรรมของ เศรษฐกิจที่ มีชีวิตท้องที่   ชุมชนยั่งยืนและเมืองเปลี่ยนผ่าน  และ ธุรกิจเพื่อประโยชน์ (แทนที่ ธุรกิจค้ากำไร-ผู้แปล) ซึ่งให้ความสำคัญแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เหนือกำไรและการโต  กิจการที่ชุมชนเป็นเจ้าของ สหกรณ์เขียวขจีในคลีฟแลนด์ เป็นกรณีตัวอย่างยอดเยี่ยมในเรื่องนี้    ดังที่ การ์ อัลเปอโรวิตส์ และเพื่อนร่วมงาน ได้ชี้ให้เห็นว่า โปรแกมภาครัฐและสหพันธรัฐ สามารถจะกำหนดให้สนับสนุนการพัฒนาชุมชน และบริษัทการเงิน ธนาคารท้องถิ่น  ธนาคารที่ดินชุมชน  ลูกจ้างกับความเป็นเจ้าของๆ ผู้บริโภค เงินตราท้องถิ่นและดอลล่าร์เวลา  กิจการเทศบาล ธุรกิจไม่ค้ากำไร

พวกเราจะไม่หวลอาลัยการเติบโต (ของเศรษฐกิจ)
สิ่งที่ต้องทำคู่ขนานไปกับการเปลี่ยนแปลงทางนโยบาย คือการเปลี่ยนแปลงในค่านิยมระดับชาติ  กล่าวโดยเฉพาะ มันถึงเวลาที่จะไปให้พ้นจาก ลัทธิบริโภคนิยมแบบคุมไม่ได้ของเรา  ความร่ำรวย ฟุ้งเฟ้อ และฟุ่มเฟือยของชาวอเมริกัน ได้กลายเป็นต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ใหญ่หลวง  แม้แต่บ้านและที่จอดรถขนาดใหญ่กว่าของพวกเรา ก็ยังเล็กเกินไปที่จะเก็บข้างของที่พวกเราสะสม   อุตสาหกรรมห้องเก็บของส่วนตัว ไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งต้นทศวรรษ 1970 (2513)  แต่มันได้เติบโตอย่างรวดเร็วจนพื้นที่โดยรวมของอุตสาหกรรมนี้ ใหญ่เท่ากับ รัฐแมนฮัตตัน และรัฐซานฟรานซิสโก รวมกัน   พวกเรามีโรค affluenza (เชื้อโรคจากความร่ำรวย เป็นการเล่นคำ affluence เทียบกับ influenza หรือไข้หวัดใหญ่-ผู้แปล) ที่พวกเราจะต้องรีบๆ รักษาให้หายอย่างรวดเร็ว
     ข่าวดี คือ มีคนมากขึ้นๆ ที่สำเหนียกในระดับหนึ่ง ว่า มีการผิดทิศผิดทางอย่างใหญ่หลวง ในพลังชีวิตของพวกเขา  พวกเรากำลังดูหมิ่นหลายสิ่ง ที่ทำให้ชีวิตมีค่า   การสำรวจหนึ่ง พบว่า ชาวอเมริกัน 81% คิดว่า ประเทศนี้มุ่งความสนใจที่การช็อป/ซื้อ และจ่ายมากเกินไป   88% บอกว่า สังคมอเมริกันติดวัตถุนิยมมากเกินไป
     การศึกษาทางจิตวิทยา แสดงให้เห็นว่า วัตถุนิยมเป็นพิษต่อความสุข  ว่าการมีรายได้สูง และการครอบครองข้าวของมากๆ ไม่ได้นำสู่การได้มาซึ่งความรู้สึกผาสุก หรือ พึงพอใจกับชีวิต   สิ่งที่ทำให้พวกเราเป็นสุข คือ ความสัมพันธ์ที่อบอุ่นระหว่างบุคคล และการให้ มากกว่าการได้
      ดังนั้น การทำให้ประชาชน ชุมชน และธรรมชาติยั่งยืน จะต้องเป็นแกนกลางของเป้าหมายของกิจกรรมเศรษฐกิจ  ไม่ใช่เพียงหวังให้เป็นผลพลอยได้จากเศรษฐกิจที่มีตลาดประสบความสำเร็จ ที่ต้องเติบโตเพื่อตัวมันเอง และมีกฎเกณฑ์พอสมควร
     การสร้างความเข้มแข็งที่จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนแปลง จะต้องมีประการแรก--การหลอมรวมเชื่อมร้อยเชิงการเมืองระหว่างพวกหัวก้าวหน้า สเป็ธ เขียน  และการหลอมรวมนั้นควรจะเริ่มต้นด้วยวาระที่มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน  วาระดังกล่าว จะโอบความรู้สึกรับผิดชอบผูกพันอย่างลึกซึ้ง ต่อความเป็นธรรมในสังคม และการป้องกันสิ่งแวดล้อม  อันเป็นการท้าทายที่ยั่งยืน ต่อลัทธิบริโภคนิยมและพาณิชย์นิยม รวมทั้งลีลาชีวิตที่พวกมันเสนอให้   ความสงสัยกังขาอย่างสร้างสรรค์ต่อความคลั่งไคล้การโต  การให้นิยามใหม่ในครรลองประชาธิปไตยว่า สังคมควรหมั่นพากเพียรปลูก/ขยายอะไร  การท้าทายความครอบงำของบรรษัท และการนิยามใหม่เกี่ยวกับบรรษัทและเป้าหมายของมัน  และความรับผิดชอบผูกพันต่อรายการทั้งหลายเพื่อการปฏิรูปที่เข้าข้างประชาธิปไตย ในการรณรงค์ด้านการเงิน การเลือกตั้ง การวิ่งเต้นชักชวนให้ สส สนับสนุนกฎข้อบังคับ และอื่นๆ อีกมากมาย  วาระร่วมหนึ่ง น่าจะรวมเข้าไป คือ ชุดดัชนีที่ต้องใช้ความพยายามสูงเหนือกว่า จีดีพี ที่จะช่วยรายงานให้พวกเรารู้ถึงคุณภาพชีวิตที่แท้จริงในอเมริกา   พวกเรามักจะเป็นอะไรที่พวกเราวัด  ดังนั้น พวกเราก็ควรจะวัดในสิ่งที่พวกเราต้องการ
     หากความคิดบางประการที่ได้นำเสนอมานี้ ดูเหมือนจะไม่เข้ากับการเมืองทุกวันนี้ได้ ก็ขอให้รอจนถึงพรุ่งนี้  แล้วมันก็จะค่อยๆ ชัดขึ้น สำหรับคนมากขึ้น ๆ ว่า มันเป็นเรื่องเดิม มันคือ จินตนาการยูโทเปีย เพียงแต่สร้างสรรค์สิ่งใหม่และต่างออกไปมากๆ จะเป็นหนทางก้างหน้าที่ติดดิน
     ผมไม่แน่ใจว่า พวกเราจะอาลัยอาวรณ์กับมนตร์สะกดของการโต หลังจากที่พวกเราได้โบกมือลาจากมัน

บทความนี้ดัดแปลงสำหรับ YES! Magazine, องค์กรสื่อระดับชาติที่ไม่ค้ากำไร ที่หลอมรวมความคิดเห็นที่ทรงพลัง กับหนทางแก้ไขที่ปฏิบัติได้ เพื่อโลกที่เป็นธรรมและยั่งยืน จากสุนทรพจน์ของ สเป็ธ ต่อสมาคม อี.เอฟ. ชูมาเกอร์
     James Gustave Speth is a professor at Vermont Law School and a Distinguished Senior Fellow at Demos, a nonpartisan public policy research and advocacy organization. A former dean of the Yale School of Forestry & Environmental Studies, he also co-founded the Natural Resources Defense Council, was founder and president of the World Resources Institute, and served as administrator of the United Nations Development Programme. He is the author of six books, including the award-winning The Bridge at the Edge of the World: Capitalism, the Environment, and Crossing from Crisis to Sustainability and Red Sky at Morning: America and the Crisis of the Global Environment.

เจมส์ กุสตาฟ สเป็ธ เป็น
-ศาสตราจารย์ที่ Vermont Law School
-เฟลโลอาวุโสที่ ดีมอส ซึ่งเป็นองค์กรวิจัยและรณรงค์นโยบายสาธารณะที่ไม่ฝักใฝ่พรรคการเมืองใด 
-อดีตคณบดี คณะป่าไม้และการศึกษาสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเยล 
-ร่วมก่อตั้ง สภาปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ
-ก่อตั้ง และประธาน สถาบันทรัพยากรโลก
-เจ้าหน้าที่บริหารของ UNDP
-ผู้เขียนหนังสือ 6 เล่ม รวมทั้งที่ได้รับรางวัล

ดรุณี ตันติวิรมานนท์ แปล / 7-8-11

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น