Lynas plans next phase of Gebeng plantBy Shannon Teoh July 13, 2011 | เฟสหน้าของแผนงานลีนัส ที่โรงงานเกเบง โดย แชนนอน เตียว 7-13-11 |
Subject to the receipt of approvals, the second phase — worth a lump sum payment of between US$180 and US$210 million (RM540 – RM630 million) — is scheduled to be completed in the last three months of 2012, according to Lynas. Lynas previously denied media reports that the new conditions set by the government after an International Atomic Energy Agency review will delay the plant by up to two years, insisting that it remains on track to begin operations by the end of 2011. The Australian miner said its plant — which will extract rare earth metals crucial for high-technology products such as smartphones, hybrid cars and wind turbines — will create a RM4 billion multiplier effect annually and will hire 350 skilled workers, 99 per cent of whom will be Malaysians. Although reports say the plant may earn RM8 billion for Lynas, more than one per cent of the Malaysian GDP, critics have questioned the real economic benefit of the project by pointing to the 12-year tax break the Australian company will enjoy due to its pioneer status. The federal government defended the Lynas project as a “strategic industry” for | กัวลาลัมเปอร์ บรรษัทขุดแร่ออสเตรเลีย ลีนัส ได้แต่งตั้งบริษัทวิศวกรรมไทย โตโย-ไทย ด้วยข้อตกลงมูลค่าถึง 630 ล้านริงกิด เพื่อก่อสร้างโรงแต่งแร่หายากในกวนตัน ให้เสร็จสมบูรณ์ในเฟสสอง เฟสแรกของการก่อสร้างโรงแต่งแร่นี้ ในนิคมอุตสาหกรรมเกเบง ซึ่งยังไม่ผ่านเงื่อนไขความปลอดภัยหลายประการ ถูกคาดหมายว่า จะเสร็จสมบูรณ์ในปลายปีนี้ แม้ยังรอรับการอนุมัติทางการ เฟสสอง—การจ่ายเงินก้อนมูลค่าระหว่าง 180 และ 210 ล้าน เหรียญสหรัฐ (540-630 ล้านริงกิด หรือ $180 x 30 บ/$ = 5,400 ล้านบาท)--ได้ถูกกำหนดว่าให้ขมวดการก่อสร้างภายใน 3 เดือนสุดท้ายของปี 2010 ก่อนหน้านี้ ลีนัสปฏิเสธรายงานข่าว ที่ว่า เงื่อนไขใหม่ที่รัฐบาลกำหนดขึ้น หลังจากหน่วยงานพลังงานอะตอมสากล ได้เข้ามาทบทวนโครงการ ทำให้การก่อสร้างของโรงงานล่าช้าไป 2 ปี โดยยืนยันว่า จะยังเดินหน้าตามแผนเดิม คืด เริ่มดำเนินการในสิ้นปี 2011 บรรษัทขุดแร่ออสเตรเลียกล่าวว่า โรงงาน—ซึ่งจะสกัดโลหะหายาก ที่จำเป็นยิ่งยวดต่อผลิตภัณฑ์ไฮเทค เช่น มือถืออัจฉริยะ รถยนตร์พันทาง และกังหันลม—จะสร้างผลกระทบทวีคูณถึง 4 พันล้านริงกิดต่อปี และจะจ้างคนงานมีฝีมือ 350 คน โดย 99% จะเป็นคนมาเลเซีย แม้ว่ารายงานจะบอกว่า โรงงานอาจจะทำรายได้ให้ลีนัส 8 พันล้านริงกิด หรือมากกว่า 1% ของจีดีพีของมาเลเซีย นักวิจารณ์ได้ตั้งคำถามถึง ผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่แท้จริงของโครงการนี้ โดยชี้ไปที่ การปลอดภาษี 12 ปี ที่มอบเป็นรางวัลให้บริษัทออสเตรเลียนี้ ในฐานะผู้บุกเบิก รัฐบาลสหพันธรัฐ ได้ปกป้องโครงการลีนัสว่าเป็น “อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์” สำหรับมาเลเซีย ทั้งๆ ที่ชาวบ้านท้องถิ่น และนักรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมได้ส่งเสียงแสดงความกลัวต่อมลพิษจากกัมมันตรังสีที่จะตามมา |
ดรุณี แปล / 7-15-11 |
"หน้าต่างวารี" เป็นพื้นที่เชื่อมโลกทัศน์ ความคิด การเคลื่อนไหว ในโลกกับในไทย ด้วยเชื่อว่า การเรียนรู้ แลกเปลี่ยน จะช่วยให้เราเข้าใจตัวเอง เข้าใจผู้อื่น และพลวัตการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อันน่าจะเป็นพื้นฐานที่ช่วยให้มนุษย์พลิกวิกฤตทุกวันนี้ ให้เป็นโอกาสในการฟื้นฟู บูรณะโลก และเยียวยามนุษยชาติและสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่ร่วมกันได้ต่อไปอย่างสันติ
วันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
Z11 ลีนัสไม่หยุด
ป้ายกำกับ:
Z11
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น