วันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2554

IWNAM ปลอดทหาร (Eng)

Relief and Recovery in Japan:
U.S. Should Decline Monies from Japan's "Sympathy Budget" and End Military Dependence Globally

The International Women's Network Against Militarism (IWNAM) demands that the U.S. and Japanese governments stop spending U.S. and Japanese taxpayer monies for the upkeep of U.S. military facilities in Japan and other territories. During these times of natural disasters, funds should directly help the needs of victims of the earthquake, tsunami, and radiation poisoning from damaged nuclear power plants in Japan, and also create alternatives for employment world wide that do not rely on militarism, or further interpersonal and ecological violence.

The IWNAM, formerly named East Asia–US-Puerto Rico Women’s Network Against Militarism, has called for reallocation of global military spending in order to achieve genuine security for people.  We call for the cancellation of the “sympathy budget,” a part of the host nation support provided by the Japanese government to maintain the U.S. military stationed in Japan (See Final Statement, International Women’s Summit to Redefine Security, June 2000.) The “sympathy budget” has been criticized for covering much more than Japan’s obligation under the U.S.-Japan Security Treaty. It covers the salaries of Japanese employees, utilities for U.S. military personnel, and building costs for luxurious leisure facilities on US bases in Japan. In 2010, these expenses totaled 189 billion yen (about $1.6 billion).  If the Japanese government kept this money it could be used to help victims of the recent earthquake in the Tohuku region, people near Fukushima Daiichi nuclear power plants who were forced to evacuate their communities, and farmers and fishers whose products can not be sold because of the risk of radiation contamination.  Japan is in need of this money for reconstruction of the vast disaster-stricken areas, and recovery from economic and human losses. It is no longer sustainable for the Japanese government to maintain U.S. military bases in Japan. We believe that if the U.S. government would decline the "sympathy budget," it could be used to help those people directly and to help create a more sustainable world.

In addition, IWNAM demands that the Japanese government should stop building new military infrastructure at Henoko and Takae in Okinawa, and also in Guam, and use that money for survivors of these natural disasters.  Since the earthquake in March, the U.S. military and Japanese Self-Defense Forces have become increasingly visible in Japan. While their rescue efforts are recognized, we should not forget that the primary purpose of the military is not disaster rescue. Their primary training is to destroy the “enemy.” These natural disasters should not be used as opportunities for military forces to justify occupation of a country, as if they are heroes.  This obscures current military developments.  According to Lisa Natividad of Guahan Coalition for Peace and Justice,
"On Guam (Guahan), the Japanese government has incrementally funded roughly $10 billion dollars, totaling 70% of the total cost of the relocation of U.S. Marines from Okinawa to Guam.  The island's people suffer poor health outcomes largely due to environmental toxicity and degradation from the presence of U.S. military bases and installations since the U.S. assumed colonial rule in 1898.  For example, cancer rates are excessively high on the island, with the largest number of cases living near military bases.  In addition, the U.S. currently occupies roughly 1/3 of the island, and is in the process of "acquiring" an additional 2,300 acres to construct a live firing range complex on ancient Chamorro sacred ground in the village of Pagat.  The acquisition of the additional land will increase U.S. control of the island to nearly 40%, thus leaving only a small portion of the island for its native people."
Furthermore, after Hurricane Katrina in the Southeast U.S., earthquakes in Haiti, and flooding in the Philippines, corporate and military interests capitalized on these natural disasters to further their own interests in the rebuilding process.  Afterward, these places were no longer economically accessible for communities who were previously living there, and they also experienced an increase in military surveillance.  We still need disaster troops and recovery plans to help people in times of natural disaster. But, we should also have a critical awareness of the cooperation occurring between militarist and capitalist forces who do not change structures of power when they take advantage of these vulnerable times to advance to geopolitical agendas of neo-liberal interests.

Dependence on militarism occurs when institutions that perpetrate violence provide employment for people. Interpersonal and ecological violence that manifests in military-dependent societies is not often seen as a product of the larger militarized society.  A recent case in Ohio, where a former U.S. Air Force member beat his Okinawan-born wife to death, illustrates interpersonal violence in militarized societies. The two met in Nago, Okinawa, while the man was stationed in Okinawa. They were married and moved to Cleveland, Ohio. On March 11, 2011, the wife was severely beaten by the husband and taken to the hospital where she was treated, but died from the injury. The local paper reported that this man had a history of violence with a former partner, but she was able to leave the relationship.  This example highlights the recurring pattern of interpersonal violence perpetrated by service members.

In Hawai'i, there is an increase in helicopters stationed and housed at Kaneohe Marine Corps Air Station (Oahu). A squadron of Ospreys (a hybrid helicopter and plane that transports troops), Cobra attack helicopters, and a squadron of Hueys will be housed at Mokapu on Oahu, and practice on the Big Island. On March 30, 2011, a helicopter crashed killing one Marine, and injuring 3 others. The push for increased housing and training areas for of military aircraft in Hawai'i is a product of the U.S. military strategy in the Asia-Pacific, moving bases and troops from one island to another. Yet these decisions disregard the impact this has on local communities and environments in Hawai'i, Okinawa, and other countries in the Asia-Pacific region where military developments increase everyday violence and insecurity. 

In 2009, global military spending was estimated at $1,531 billion, an increase of 6% from 2008 and 49% from 2000. On April 12, 2011, the Stockholm International Peace Research Institute (SIPRI) will release its calculations of global military spending for 2010. We estimate that this figure could reach $1.6 trillion.  We join peace groups, budget priority activists, arms control advocates, and concerned citizens the world over in public demonstrations, solidarity actions and awareness raising events to call attention to the disparity between bountiful global investments in war-making and the worldwide neglect of social priorities. Please visit the website for Global Day of Action on Military Spending at http://demilitarize.org/.

The IWNAM demands that U.S. President Barack Obama’s administration
1)    Decline the Japanese “Sympathy Budget.”
2)    End the military build up in Okinawa, Guam, Hawaii and other territories.
3)    Stop the justification of militarism in times of natural disasters
4)    Fund alternative jobs that end dependence on militarism

Signed, on behalf of the IWNAM:

Kozue Akibayashi, Women's International League for Peace and Freedom, Japan
Ellen-Rae Cachola, Women for Genuine Security/Women's Voices Women Speak, U.S. & Hawai'i
Lotlot dela Cruz, KAISAKA, Philippines
Cora Valdez Fabros, SCRAP VFA Movement, Philippines
Terri Keko'olani, DMZ-Hawaii, Hawai'i
Gwyn Kirk, Women for Genuine Security, U.S.
María Reinat Pumarejo, Ilé Conciencia-en-Acción, Puerto Rico
Aida Santos-Maranan, Women's Education, Development, Productivity and Research Organization (WeDpro), Philippines
Kim Tae-jung, Korea
Suzuyo Takazato, Okinawa Women Act Against Military Violence, Okinawa
Lisa Natividad, Guahan Coalition for Peace and Justice, Guahan (Guam)


The International Women’s Network Against Militarism was formed in 1997 when forty women activists, policy-makers, teachers, and students from South Korea, Okinawa, mainland Japan, the Philippines and the continental United States gathered in Okinawa to strategize together about the negative effects of the US military in each of our countries.  In 2000, women from Puerto Rico who opposed the US Navy bombing training on the island of Vieques also joined; followed in 2004 by women from Hawai’i and in 2007 women from Guam.  The Network is not a membership organization, but a collaboration among women active in our own communities, who share a common mission to demilitarize their lands and communities. For more information, visit
www.genuinesecurity.org.

IWNAM ปลอดทหาร

บทแถลงข่าว
IWNAM Secretariat, genuinesecurity@lists.riseup.net
11 เมษายน 2011

การบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูในญี่ปุ่น:
สหรัฐฯ ควรงดรับ งบเห็นใจ ("Sympathy Budget") จากญี่ปุ่น
และยุติการพึ่งพิงแสนยานุภาพกองทัพทั่วโลก
Relief and Recovery in Japan:
U.S. Should Decline Monies from Japan's "Sympathy Budget" and
End Military Dependence Globally

เครือข่ายสตรีนานาชาติต่อต้านลัทธิทหาร (IWNAM, International Women's Network Against Militarism) ได้เรียกร้องให้รัฐบาลสหรัฐฯ และญี่ปุ่น หยุดใช้เงินภาษีของประชาชนสหรัฐฯ และญี่ปุ่น ในการธำรงรักษาอุปกรณ์และสาธารณูปโภคของสหรัฐฯ ในประเทศญี่ปุ่นและอาณษเขตอื่นๆ   ในห้วงเวลาของการเกิดภับธรรมชาติต่อเนื่อง ควรผันเงินทุนเพื่อช่วยผู้เคราะห์ร้าย ได้รับความทุกข์ร้อนจากแผ่นดินไหว  สึนามิ และพิษกัมมันตรังสีที่รั่วไหลจากโรงงานพลังนิวเคลียร์ที่ถูกกระทบเสียหายในญี่ปุ่น  รวมทั้งสร้างการจ้างงานทางเลือกทั่วโลก ที่ไม่ต้องพึ่งอำนาจการทหาร  หรือส่งเสริมการกระทำรุนแรงระหว่างบุคคลและต่อระบบนิเวศ
IWNAM เดิมมีชื่อว่า เครือข่ายผู้หญิงในเอเชียตะวันออก-สหรัฐฯ-เปอร์โตริโก ต่อต้านลัมธิการทหาร (East Asia–US-Puerto Rico Women’s Network Against Militarism)  ภายใต้ชื่อเดิมนี้ ได้เรียกร้องให้เปลี่ยนแนวการจัดสรรใช้จ่ายงบปะมาณการทหารของโลก เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของความมั่นคงของประชาชนอย่างแท้จริง   พวกพวกเราเพรียกร้องให้ตัด งบเห็นใจ ซึ่งเป็นงบส่วนที่ประเทศเจ้าภาพ นั่นคือ รัฐบาลญี่ปุ่น ต้องจัดสรรให้ เพื่อทำนุบำรุงกองทัพสหรํฐฯ ที่ประจำการในญี่ปุ่น (ดูรายงานการกำหนดงบประมาณให่ ใน Final Statement, International Women’s Summit to Redefine Security, June 2000.)   งบเห็นใจนี้ ได้ถูกวิจารณ์ว่า ถูกใช้เกินขอบเขตความรับผิดชอบของญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญารักษษความมั่นคง สหรัฐฯ-ญี่ปุ่น   งบนี้ ถูกใช้เป็นเงินเดือนของลูกจ้างชาวญี่ปุ่น  ค่าสาธารณูปโภคสำหรับบุคลากรทหารชาวอเมริกัน  และค่าก่อสร้างอาคารและเครื่องอำนวยความสะดวกหรูหราต่างๆ ในฐานทัพสหรัฐฯ ในประเทศญี่ปุ่น   ในปี 2010  ยอดค่าใช้จ่ายเหล่านี้รวม 189 พันล้านเยน (ประมาณ 1.6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ)   หากรัฐบาลญี่ปุ่นเก็บเงินจำนวนนี้ไว้ ก็จะมีเงินสำหรับช่วยเหลือผู้เคราะห์ร้ายจากแผ่นดินไหวเมื่อเร็วๆ นี้ ในเขต โตฮูกุ  ประชาชนที่อาศัยใกล็ โรงงานพลังนิวเคลียร์ ไดอิชิ-ฟูกูชิมา ที่ถูกบังคับให้ย้ายทั้งชุมชน และชาวนา ชาวประมง ผู้ไม่สามารถขายผลผลิตของตน เพราะความเสี่ยงปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี   ประเทศญี่ปุ่นมีความจำเป็นที่จะใช้เงินจำนวนนี้ เพื่อบูรณะอาณาบริเวณกว้างใหญ่มหาศาล ที่ถูกภัยพิบัติทำลาย  และฟื้นฟูจากการสูญเสียทางเศรษฐกิจและชีวิต  มันไม่ใช่วิธีการที่ยั่งยืนอีกต่อไป ที่รัฐบาลญี่ปุ่นจะฑำรงรักษาฐานทัพสหรัฐฯ ในประเทศญี่ปุ่น  พวกเราเชื่อว่า หากรัฐบาลสหรัฐฯ จะงดรับ งบเห็นใจ นี้  เงินจำนวนนี้ จะสามารถช่วยประชาชนผู้เคราะห์ร้ายเหล่านั้น โดยตรง และช่วยสร้างโลกที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ IWNAM ขอเรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่น ระงับการสร้างระบบสาธารณูปโภคการทหารใหม่ที่ ฮีโนโกะ และ ทาคาเอะ (Henoko and Takae) ในโอกินาวา  รวมทั้งในเกาะกวม  และควรเงินจำนวนนั้น เพื่อช่วยเหลือผู้รอดจากภับธรรมชาติเหล่านี้   ตั้งแต่เกิดแผ่นดินไหวในเดือน มีนาคม  กองทัพสหรัฐฯ และกองกำลังญี่ปุ่นเพื่อปกป้องตนเอง  ได้ปรากฏตัวในสายตาสาธารณชนญี่ปุ่นมากขึ้น   ในขณะที่พวกเราประจักษ์ในกิจกรรมช่วยเหลือของกองกำลังทหาร พวกเราไม่ควรลืมว่า วัตถุประสงค์ขั้นต้นของกองทัพ ไม่ใช่เพื่อการกู้ภัยพิบัติ   การฝึกฝนเบื้องต้นของทหาร คือ ทำลาย ศัตรู  ภัยพิบัติธรรมชาติ ไม่ควรถูกใช้เป็นโอกาส เพื่ออ้างหรือสร้างความชอบธรรม ให้แก่อาชีพของประเทศหนึ่ง ประหนึ่งว่าพวกเขาเป็นวีรบุรุษ  การสร้างความชอบธรรมเช่นนี้ บิดเบือนการพัฒนาแสนยานุภาพการทหารในปัจจุบัน   ลิซา นาติวิดัด (Lisa Natividad) แห่ง เครือข่าย กัวฮานเพื่อสันติและความยุตืธรรม (Guahan Coalition for Peace and Justice) กล่าวว่า
ที่กวม (Guam หรือ Guahan) รัฐบาลญี่ปุ่นได้ทบทวีเพิ่มงบเป็น $10 พันล้าน หรือรวมเป็น 70% ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการขนย้ายฐานทัพเรือสหรัฐฯ จากโอกินาวา ไปยังกวม   ประชาชนในเกาะกวมกำลังประสบปัญหาสุขภาพทรุดโทรม อันเป็นผลจากมลพิษและความเสื่อมโทรมในสิ่งแวดล้อม ที่มาจากฐานการย้ายเข้ามาปักหลักของฐานทัพสหรัฐฯ และตั้งตัวเป็นอาณานิคมปกครองกวม ตั้งแต่ 1898  ยกตัวอย่าง อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งที่สูงมากบนเกาะ โดยพบผู้ป่วยมากที่สุดอาศัยอยู่ใกล้ฐานทัพ  นอกจากนี้ ทุกวันนี้ ฐานทัพสหรัฐฯ ได้ใช้พื้นที่ 1/3 ของเกาะ และอยู่ในขั้นตอน ขอ พื่นที่เพิ่มอีก 2,300 เอเคอร์ เพื่อสร้างเป็นสนามฝึกการประจัญบาน บนพืนที่ศักดิ์สิทธิ์โบราณชาโมร์โร (Chamorro) ในหมู่บ้าน Pagat   การขอพื้นที่เพิ่มนี้ จะทำให้สหรัฐฯ แผ่อำนาจครอบคลุมเกือบ 40% ของเกาะกวม  นั่นคือ ทิ้งที่ดินส่วนน้อยให้ชนพื้นเมืองของเกาะ
เหนือกว่านั้น หลังจากที่พายุเฮอริเคน คาทริน่า ที่ถล่มภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐฯ  แผ่นดินไหวในไฮติ  และน้ำท่วมในฟิลิปปินส์  กองทัพและผลประโยชน์ของการทหาร ได้เก็บเกียวความชอบจากภับพิบัติธรรมชาติเหล่านี้ เพื่อสร้างความชอบธรรมเข้าข้างผลประโยชน์ตัวเอง ให้ก่อสร้างตังเองขึ้นใหม่   หลังากนั้น พื้นที่ต่างๆ เหล่านี้ ก็จะถูกกีดกั้นถาวร  ชุมชนดั้งเดิมที่อาศัยในบริเวณนั้น ย่อมไม่สามารถเข้าไปใช้ผืนดินเลี้ยงชีพ หรือผลิตทางเศรษฐกิจ   พวกเขาได้ประสบกับแรงกดดันเพิ่มขึ้นจากการตรวจการของทหาร   พวกเรายังจำเป็นต้องพึ่งกองทหารกู้ภัย และแผนฟื้นผู เพื่อช่วยเหลือประชาชนผู้เคราะห์ร้าย  แต่พวกเราควรตระหนักอย่างจริงจัง ถึงการร่วมมือที่กำลังเกิดขึ้น ระหว่างพลังลัทธิการทหารและพลังลัทธืทุนนิยม ผู้ไม่ปรับเปลี่ยนโครงสร้างอำนาจ แต่ฉวยโอกาสห้วงเวลาที่เปราะบางเหล่านี้ เพื่อตอกย้ำและเดินหน้าปกป้องวาระเชิงการเมือง-ภูมิศาสตร์ ของผลประโยชน์ของอุดมการณ์เสรีนิยมใหม่
การพึ่งพิงอำนาจการทหารเกิดขึ้น เมื่อสถาบันที่ฝักใฝ่ความรุนแรง เป็นผู้ให้งานว้างแก่ประชาชน   ความรุนแรงในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและกับระบบนิเวศ ที่เผยโฉมหน้าเป็นสังคมมากมายที่อิงกองทัพ มักไม่ถูกมองว่าเป็นผลลัพธ์ของสังคมหนึ่งที่มีระบบกองทัพที่ใหญ่กว่า  เมื่อเร็วๆ นี้ มีกรณีหนึ่งในโอไฮโอ เมื่อสามีที่เคยเป็นทหารอากาศ ได้ตบตีภรรยาที่เกิดในโอกินาวาถึงตาย  แสดงให้เห็นถึงความรุนแรงในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในเหล่าสังคมอังกองกำลัง  คนทั้งสองพบรักกันใน นาโงะ (Nago) ที่โอกินาวา เมื่อฝ่ายชายประจำการที่นั่น  ทั้งสองแต่งงาน และย้ายกลับมาคลีฟแลนด์ โอไฮโอ   ในวันที่ 11 มีนาคม 2011 ภรรยาถูกสามีทำร้ายสาหัส และถูกนำส่งโรงพยาบาลเพื่อรักษา แต่เธอเสียชีวิตเพราะทนพิษบาดแผลไม่ได้   หนังสือพิมพ์ท่องถิ่น รายงานว่า ฝ่ายชายมีประวัติพฤติกรรมรุนแรงต่อคู่ชีวิตคนก่อน แต่เธอสามารถดิ้นรนหลุดลอดจากความสัมพันธ์นั้น  ตัวอย่างนี้ ชี้ให้เห็นถึงแบบแผนของการเกิดซ้ำแล้วซ้ำเล่าของพฤติกรรมรุนแรงในความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ที่มักเริ่มจากสมาชิกของกองทัพ หรือผู้มีหน้าที่พิทักษ์ (service members)
ในฮาวาย มีสถานีเฮลิคอปเตอร์ที่กระจุกตัวอยู่ที่กองนาวิกโยธิน คานีโอเฮ (Kaneohe Marine Corps Air Station (Oahu). ฝูงบินออสปรีย์ (Ospreys พันทางรหว่างเฮลิคอปเตอร์และเครื่องบินเพื่อขนส่งกองทหาร)  เฮลิคอปเตอร์งูเห่าโจมตี และฝูงบิน Hueys จะตั้งฐานที่ โมคาปู (Mokapu) ที่โออาฮู และฝึกซ้อมบนเกาะบิก (Big Island)   เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2011 เฮลิคอปเตอร์ตก คร่าเสียชีวิตนาวิกโยธินคนหนึ่ง และอีกสามคนบาดเจ็บ   การผลักดันให้สร้างที่อยู่อาศัยและสนามฝึกเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับกองยานบินในฮาวาย เป็นผลจากยุทธศาสตร์แสนยานุภาพสหรัฐฯ ในภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค ในการเคลื่อนย้ายฐานทำพและกองกำลังจากเกาะหนึ่ง ไปเกาะอื่นๆ  แต่การตัดสินใจเหล่านี้ ละเลยผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อชุมชนท้องถิ่น ในฮาวาย โอกินาวา และประเทศต่างๆ ในภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค ที่ซึ่งพัฒนาการของกองทัพ ได้ทวีคูณความรุนแรงและความไม่มั่นคงในชีวิตประจำวัน
ในปี 2009 มีการประเมินว่า ค่าใช้จ่ายของกองทัพทั่วโลกสูงถึง $1,531 พันล้าน  เพิ่มขึ้น 6% เมื่อเทียบกับปี 2008 และ 49% กับปี 2000   เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2011 สถาบันวิจัยเพื่อสันติสากลแห่งสต็อกโฮม (Stockholm International Peace Research Institute, SIPRI) จะแถลงข่าวผลการคำนวณค่าใช้จ่ายในการทหารโลกในปี 2010  พวกเราประเมินว่า ตัวเลขคงจะทะลุ $1.6 ล้านล้าน  พวกเราได้รวมตัวกัน อันประกอบด้วยกลุ่มรณรงค์เพื่อสันติ  นักกิจกรรมตรวจสอบติดตามการวางงบประมาณ  นักขับเคลื่อนให้มีการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ และพลเมืองที่มีความห่วงใยทั่วโลก ในการร่วมแสดงออกสู่สาธารณะ ด้วยการผนึกกำลังในการขับเคลื่อน และกิจกรรมปลุกจิตสำนึก ความตื่นรู้ เพื่อทำให้สาธารณชนเกิดความประจักษ์ต่อการแบ่งขั้ว ระหว่างการลงทุนมหาศาลของโลกในการทำสงคราม และการละเลยทั่วโลกต่อปัญหาสังคม   โปรดเยียมชมเว็บไซต์ เรื่อง Global Day of Action on Military Spending ที่ http://demilitarize.org/.
IWNAM ขอเรียกร้องให้รัฐบาลสหรัฐฯ ภายใต้ประธานาธิบดี Barack Obama ดังนี้
1.      งดรับ งบเห็นใจ ของประเทศญี่ปุ่น
2.      ยุติการสร้างฐานกำลังในโอกินาวา กวม ฮาวาย และอาณาเขตอื่นๆ
3.      หยุดสร้างความชอบธรรมให้ลัทธิการทหารในยามภัยพิบัติทางธรรมชาติ
4.      สนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างงานทางเลือก เพื่อยุติการอิงอำนาจกองทัพ

ลายเซ็น ในนามของ IWNAM:

Kozue Akibayashi, Women's International League for Peace and Freedom, Japan
Ellen-Rae Cachola, Women for Genuine Security/Women's Voices Women Speak, U.S. & Hawai'i
Lotlot dela Cruz, KAISAKA, Philippines
Cora Valdez Fabros, SCRAP VFA Movement, Philippines
Terri Keko'olani, DMZ-Hawaii, Hawai'i
Gwyn Kirk, Women for Genuine Security, U.S.
María Reinat Pumarejo, Ilé Conciencia-en-Acción, Puerto Rico
Aida Santos-Maranan, Women's Education, Development, Productivity and Research Organization (WeDpro), Philippines
Kim Tae-jung, Korea
Suzuyo Takazato, Okinawa Women Act Against Military Violence, Okinawa
Lisa Natividad, Guahan Coalition for Peace and Justice, Guahan (Guam)

IWNAM ก่อตั้งขึ้นในปี 1997 เมื่อนักกิจกรรมสตรี นักวางนโยบาย อาจารย์ และนักศึกษา 40 คน จาก เกาหลีใต้ โอกินาวา ญี่ปุ่นแผ่นดินใหญ่ ฟิลิปปินส์ และสหรัฐอเมริกา ได้รวมตัวกันที่โอกินาวา เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์ร่วมกัน เกี่ยวกับผลกระทบเชิงลบของกองทัพสหรัฐฯ ในประเทศของพวกเรา  ในปี 2000  ผู้หญิงจากเปอร์โตริโก ซึ่งประท้วงการฝึกทิ้งระเบิดของกองทัพเรือสหรัฐฯ บนเกาะ Vieques ได้เข้าร่วมกับพวกเรา   ตามด้วยผู้หญิงจากฮาวาย ในปี 2004 และผู้หญิงากกวม ในปี 2007   เครือข่ายฯ นี้ ไม่ใช่เป็นองค์กรสมาชิก แต่เป็นการรวมตัวระหว่างผู้หญิงที่ทำงานจริงจังในชุมชนของพวกเราเอง  ผู้มุ่งมั่นในพันธกิจร่วมในการทำให้ผืนดินและชุมชนของพวกเราปลอดกำลังทหาร   (
www.genuinesecurity.org)

ดรุณีแปล / 4-17-11