วันเสาร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2553

20 ปีของขบวนหญิงไทย (1990-2010)-III

การรณรงค์นโยบายสิทธิสตรีในประเทศไทย
III. ภาคผนวก
ดรุณี ตันติวิรมานนท์ & ชาชิ รัญจัน ปานดี
พ.ศ. ๒๕๕๑

สารบัญ
I
.
บริบท

.
ตัวจักรการขับเคลื่อน: องค์กรภาครัฐ  องค์กรเอกชนสตรี  และศูนย์สตรีศึกษา


ก. หน่วยงานภาครัฐ  และองค์กรกึ่งรัฐ


สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สค)


คณะกรรมาธิการกิจการสตรี เยาวชน และผู้สูงอายุของรัฐสภา


ชมรมรัฐสภาสตรี  


คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม)


  ข. องค์กรเอกชนสตรี


สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทยฯ


สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี ฯ


สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา


สถาบันผู้หญิงกับการเมือง


สมาคมติดตามการพัฒนาสตรีในประเทศไทย


สภาสตรีแห่งชาติ ฯ


เครือข่ายผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ


ขบวนผู้หญิงกับการปฏิรูปการเมือง 


มูลนิธิเพื่อนหญิง


มูลนิธิผู้หญิง


มูลนิธิฮอทไลน์


มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง


กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี


ศูนย์พิทักษ์สิทธิหญิงบริการ


          ค. ศูนย์สตรีศึกษาในมหาวิทยาลัย


โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มธ


ศูนย์สตรีศึกษา มช


โครงการสตรีศึกษา จุฬาฯ

.
กรณีศึกษา


ก.       การรณรงค์เพื่อความเสมอภาคในระดับตัดสินใจสาธารณะ


ข.       การรณรงค์ปฏิรูปรัฐธรรมนูญ


ค.       การรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อสตรี


ง.       การเรียกร้องสิทธิลาคลอด ๙๐ วัน
II
.
บทวิเคราะห์  


ก.ปัจจัย


อนุสัญญาระหว่างประเทศ


บรรยากาศทางสังคมและการเมืองในประเทศ


ตัวจักรการขับเคลื่อน


ข. ยุทธศาสตร์


การล็อบบี้กับอำนาจรัฐ


การเข้าถึงและการใช้ข้อมูล


การสื่อสาร


การสร้างเครือข่าย


          ค. ผลพวง


ความเชื่อมั่นในตัวเอง และ ความตื่นตัวในสาธารณชน


การมีส่วนร่วม


แนวร่วม


การแก้กฎหมาย กับสถานภาพสตรี


          ง. สิ่งท้าทาย


สำนักงานกิจการสตรีและคีอบครัว


ศูนย์สตรีศึกษา


องค์กรเอกชนสตรี

.
ข้อเสนอแนะ


          ก. สค


          ข. ศูนย์สตรีศึกษา


          ค. องค์กรเอกชนสตรี

๖.
บทสรุป
III

ภาคผนวก


๑. รายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ ระหว่าง มกราคม กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑


. รายชื่อ หน่วยงานรัฐ องค์กรสตรีเอกชน และศูนย์สตรีศึกษา


๓. รายชื่อองค์กรสมาชิกของเครือข่ายผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ



. สมาชิกเครือข่ายผู้หญิงเพื่อความก้าวหน้าและสันติ


. อัตราส่วนของผู้หญิงในตำแหน่งตัดสินระดับชาติและระดับท้องถิ่น


เอกสารประกอบการศึกษา


ภาคผนวก ๑
รายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ ระหว่าง มกราคม กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
ชื่อ
ตำแหน่ง
องค์กร
หน่วยงานภาครัฐ


อนุสรณ์   อินทร์กำแหง

ผู้อำนวยการ
สำนักงานส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
พรสม   เปาปราโมทย์
ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส
สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
นัยนา   สุภาพึ่ง
กรรมการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
สุนี    ไชยรส
กรรมการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
นักการเมือง


มาลีรัตน์   แก้วก่า
อดีต สมาชิกวุฒิสภา

ฮุวัยดีย๊ะ  พิศสุวรรณ  อุเซ็ง
อดีตสมาชิกสภาผู้แทนฯ
พรรคประชาธิปัตย์
องค์กรสตรีเอกชน


สุทธินี    เมธีประภา
นายกสมาคม
สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมาย
อุษา   เลิศศรีสันทัด
ผู้อำนวยการ
มูลนิธิผู้หญิง
สุเพ็ญศรี   พึ่งโคกสูง
หัวหน้า
ศูนย์พิทักษ์สิทธิสตรี  มูลนิธิเพื่อนหญิง
จะเด็จ  เชาว์วิไล
ผู้จัดการ
มูลนิธิเพื่อนหญิง
เตือนใจ   บุรพรัตน์
ประธาน
สมาคมผู้นำสตรีพัฒนาชุมชนไทย
สื่อมวลชน


บุญรัตน์   อภิชาติไตรสรณ์
บรรณาธิการข่าวต่างประเทศ
บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด
สหภาพแรงงาน


บัณฑิตย์  ธนชัยเศรษฐวุฒิ
ผู้อำนวยการ และนักวิจัยสิทธิแรงงาน
มูลนิธิอารมณ์  พงศ์พงัน
ศุกาญจน์ตา   สุขไผ่ตา
-ประธาน
-รองประธาน
-กลุ่มสหภาพแรงงานย่านรังสิตและใกล้เคียง
-สหภาพแรงงานไทยคูราโบ
อรุณี   ศรีโต
-ที่ปรึกษา (อดีตประธาน)
-อดีตประธาน
-กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี
-สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ แห่งประเทศไทย
วิไลวรรณ   แซ่เตีย
ประธาน
คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
นักวิชาการ


รศ. วิมลศิริ  ชำนาญเวช
คณบดี
คณะนิติศาสตร์  มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
รศ. มาลี   พฤกษพงศาวลี
-ประธาน
-ผู้อำนวยการ

-อาจารย์
-โครงการสตรี & เยาวชนศึกษา
-โครงการศิลปศาสตร์มหาบัณฑิตสตรีศึกษา และ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
องค์กรพัฒนาระหว่างประเทศ


สุพัตรา  ภู่ธนานุสรณ์

ผู้จัดการโครงการประจำประเทศไทย
UNIFEM CEDAW South East Asia Progm
ปรีดา  ศิริสวัสดิ์
เจ้าหน้าที่
มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท

ภาคผนวก ๒

รายชื่อ หน่วยงานรัฐ องค์กรสตรีเอกชน และศูนย์สตรีศึกษา

I. หน่วยงานภาครัฐ  


สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (สสค)
Office of Women's Affairs and Family Development (OWAFD)
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (กพม)
255 บ้านราชวิถี  ทุ่งพญาไท ราชเทวี  กทม  10400
โทร: 02-306-8757; โทรสาร: 02-306-8739
ติดต่อ:  คุณจิตราภา  สุนทรพิพิธ

สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  (กสม)

National Human Rights Commission (NHRC) 422 ถ.พญาไท  ปทุมวัน  กทม 10330
โทร :  02-2219-2980, โทรสาร :  02-2219-2940, Hotline : 1377

E-mail : interhr@nhrc.or.th;  http://www.nhrc.or.th


II. องค์กรสตรีภาคเอกชน


กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี  (Women Workers’ Unity Group  WWUG)
503/20 พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย นิคมรถไฟ  ถ.มักกะสัน ราชเทวี  กทม 10400
โทร/โทรสาร: 02-251-3173
ติดต่อ:  คุณเพลินพิศ  ศรีศิริ

เครือข่ายผู้หญิงเพื่อความก้าวหน้าและสันติภาพ
(Women Network for Advancement and Peace  WNAP)
295  ถ. จรัลสนิทวงศ์  ซอย 62  บางพลัด  กทม 10700
โทร: 02-433-5149, 02-435-1246; โทรสาร: 02-434-6774
ติดต่อ:  คุณพิมพ์ธรรม  เอื้อเฟื้อ

เครือข่ายองค์กรด้านเด็กและสตรีเพื่อติดตามการตรวจสอบจริยธรรมทางเพศผู้บริหารระดับสูง
(Coalition for Monitoring Moral Investigation of High Ranking Public Officials  CMMI)
386/61-62  ซอยรัชฎาภิเษก 42 ลาดยาว จตุจักร   กทม 10900
โทร: 081-618-0613; โทรสาร: 02-513-2276, 02-929-2090
ติดต่อ: คุณสุเพ็ญศรี พึ่งโคกสูง

มูลนิธิเพื่อการพัฒนาการคุ้มครองเด็ก (Fight Against Child Exploitation Foundation FACE)
ตู้ ป.ณ. 178, สนง คลองจั่น กทม 12040
โทร: This e-mail address is being protected from spam bots, you need JavaScript enabled to view it02-509-5782, 947-7307; โทรสาร: 02-519-2794
ติดต่อ: คุณสุดารัตน์ เสรีวัฒน์
Email: face@facefoundation.or.th; facefoundation.or.th/th/

มูลนิธิเพื่อนหญิง  (Friends of Women Foundation  FOW)
386/61-62  ถ. รัชฎาภิเษก  ซอยรัชฎาภิเษก 44 (เฉลิมสุข) จตุจักร   กทม 10900โทร: 02-513-2708, -1001; โทรสาร: 02-513-1929ติดต่อ:  คุณธนวดี  ท่าจีน
E-mail: FOW@mozart.inet.co.th

มูลนิธิผู้หญิง  (Foundation for Women  FFW)
295  ถ. จรัลสนิทวงศ์  ซอย 62 บางพลัด  กทม 10700
โทร: 02-433-5149, 02 435-1246; โทรสาร: 02-434-6774
ติดต่อ:  คุณอุษา  เลิศศรีสันทัด
E-mail: ffw@mozart.inet.co.th; www.womenthai.org


มูลนิธิผู้หญิงเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย (สถาบันผู้หญิงกับการเมือง)
Women for Democratic Development Foundation (WDDF) / Women and Politics Institute (WPI)
ศูนย์สาธารณะประโยชน์และประชาสังคม   สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บางกะปิ  กทม  10240
โทร: 02-277-7206, 378-1284; โทรสาร: 02-374-7399
ติดต่อ:  ดร  จุรี   วิจิตวาทการ
URL: www.cpcs.nida.ac.th/

มูลนิธิส่งเสริมโอกาสผู้หญิง  (EMPOWER Foundation)
57/60 ถนนติวานนท์  นนทบุรี  11000
โทร: 02-526-8311; โทรสาร: 02-526-3294
Email: badgirls@empowerfoundation.org; www.empowerfoundation.org

มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง  สคส  (Women’s Health Advocacy Foundation WHAF)
12/22 ถ. เทศบาลสงเคราะห์   ลาดยาว จตุจักร   กทม 10900
โทร: 02-591-1224 to 5; โทรสาร: 02-591-1224 to 5 ext 11  
ติดต่อ:  คุณณัฐยา  บุญภักดี
E-mail: contact@whaf.or.th; www.whaf.or.th

มูลนิธิฮอทไลน์  (Hotline Centre Foundation)
14526-7  ถ. วิภาวดีรังสิต จตุจักร   กทม 10900
โทร: 02-276-2950, -277-8811, -277-7699; โทรสาร: 02-691-4057
ติดต่อ:  คุณอรอนงค์  อินทรจิตร

สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา (Gender and Development Research Institute  GDRI)
501/1 หมู่ 3  ถ. เตชะตุงคะ   ทุ่งสีกัน  ดอนเมือง   กทม 10210
โทร: 02-929-2088 ถึง 9; โทรสาร: 02-929-2300, -2090
ติดต่อ:  ดร  สุธีรา  วิจิตรานนท์
E-mail: gdri@cscoms.com; www.gdrif.org

สภาสตรีแห่งชาติฯ  (National Council of Women of Thailand  NCWT)
บ้านมนังคศิลา ถ. หลานหลวง  กทม 10300โทร: 02-281-0081; โทรสาร: 02-281-2189ติดต่อ:  ประธาน
E-mail: ncwt@mozart.inet.co.th,  www.thaiwomen.or.th/target.html

สมาคมติดตามการพัฒนาสตรีในประเทศไทย  ตพส ไทย  (Thai Women Watch Association TW2)
2234  ถ. เพชรบุรีตัดใหม่  บางกะปิ ห้วยขวาง   กทม 10320
โทร: 02-314 4316, 02-314 5076; โทรสาร: 02-718 0372
ติดต่อ: ท่านผู้หญิง สุมาลี จาติกวนิช
E-mail: tw2a@asianet.co.th

สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมาย  (Association of Women Lawyers of Thailand  AWLT)
6 ถ. สุโขทัย ดุสิต   กทม 10300โทร: 02-241-0737 โทรสาร: 02-243-9050ติดต่อ:  คุณสุทธินี    เมธีประภา

สมาคมผู้นำสตรีพัฒนาชุมชนไทย  (Thai Women Community Leader Association  TWCLA)
c/o กรมพัฒนาชุมชน  กระทรวงมหาดไทย
โทร: 081-727-7633
ติดต่อ:   คุณเตือนใจ   บุรพรัตน์

สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีฯ  (Association for the Promotion of Status of Women APSW)
501/1 หมู่ 3  ถ. เตชะตุงคะ   ทุ่งสีกัน  ดอนเมือง   กทม 10210
โทร: 02-929-2301 ถึง 5; โทรสาร: 02-929-2300, -2090
ติดต่อ:  คุณเมทินี  พงษ์เวช
E-mail : admin@apsw-thailand.org; www.apsw-thailand.org     

ศูนย์ข่าว ญ  (Women’s News Center  WNC)
937/1 ถ. อรุณอัทรินทร์  ศิริราช บางกอกน้อย  กทม  10700
โทร/โทรสาร: 02-866-1081
ติดต่อ:  คุณอุษา  เลิศศรีสันทัด

ศูนย์พิทักษ์สิทธิหญิงบริการ (EMPOWER Foundation)
ตู้ ปณ 1065 สีลม  กทม 10504  
โทร: 02-236-9272; โทรสาร: 02 632-7902
ติดต่อ:  คุณสุรางค์   จันทร์แย้ม

ศูนย์วิจัยวารี  (Women’s Action and Resource Initiative WARI)
55/12 เมืองเอก  รังสิต  ปทุมธานี 12000
โทร: 02-997-7279
E-mail: wari99@gmail.com, http://wari2010.blogspot.com/


III. ศูนย์สตรีศึกษา


โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ) 
(Women and Youth’s Studies Program,  Thammasat University)
วิทยาลัยสหวิทยาการ  มธ
2 ถ. พระจันทร์  กทม 10200โทร: 02613-2860 to 1; โทรสาร: 02613-3609ติดต่อ: รศ. มาลี   พฤกษพงศาวลี
E-mail : women@tu.ac.th,  women_tu@yahoo.com;  www.ci.tu.ac.th

ศูนย์สตรีศึกษา  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช) 
(Women’s Studies Center Chiang Mai University)
คณะสังคมศาสตร์  มช
เมือง   เชียงใหม่ 50200โทร: 053-943-572, 53-943-592 to 3; โทรสาร: 053-219-245ติดต่อ: รศ. วิระดา  สมสวัสดิ์
E-mail:
wsc@chiangmai.ac.th; www.soc.cmu.ac.th/~wsc

ภาคผนวก ๓

รายชื่อองค์กรสมาชิกของเครือข่ายผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ

เขต กทม

กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี
Women Workers’ Unity Group
กลุ่มผู้หญิงเดือนตุลา
October Women Group
กลุ่มผู้นำการพัฒนาสตรี จังหวัดนนทบุรี
Women’s Development Leaders Group, Nonthaburi
กลุ่มสตรีมุสลิมอาสาสมัคร
Muslim Women Volunteers Group
กลุ่มผู้หญิงเพื่อการเมืองเพื่อวันพรุ่งนี้
Women for New Politics for Tomorrow Group
กลุ่มผู้หญิงเพื่อการเมืองยุคใหม่
Women for New Politics Group
คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.)
Campaign for Democracy Committee
คณะทำงานติดตามการพัฒนาสตรีในประเทศไทย ( ตพส.)
Thai Women’s Watch
โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้หญิงชุมชนแออัด
Development Network for Women in Congested Community Program
เครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง
Strong Community Network
ชมรมทนายความสตรี
Women Lawyers’ Club
มูลนิธิผู้หญิง
FFW Foundation
มูลนิธิเพื่อการพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์
Social and HRD Foundation
มูลนิธิเพื่อนหญิง
FOW Foundation
มูลนิธิอาเซีย
The Asia Foundation
สถาบันผู้หญิงกับการเมือง
Women and Politics Institute
สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายเพื่อการพัฒนา
GDRI
สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายแห่งประเทศไทย ฯ
AWLT
สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี 
APSW
สมาคมสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
Union Civil Liberty
สภาสตรีแห่งชาติ ฯ (ฝ่ายสตรีและแรงงาน)
NCWT, Women and Labor Unit
สหทัยมูลนิธิ
Sahathai Foundation                                                   
ศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์
ACCESS (Rights Protection—AIDS—Center)
ศูนย์บริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงาน
Information Service and Labor Training Center
ศูนย์พิทักษ์สิทธิหญิงบริการ
EMPOWER
สถาบันการศึกษา

โครงการผู้นำสตรีท้องถิ่น สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชนบท   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Local Women Leaders Program, CUSRI
โครงการส่งเสริมสิทธิและความเสมอภาค สถาบันวิจัยสังคม  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Promotion of Rights and Equality Program, CUSRI
โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Women and Youth Studies Program, TU
ศูนย์วิจัยและพัฒนาสตรี  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Research and Women’s Development Center, Songkhla Univ.
ศูนย์ศึกษาเพื่อพัฒนาสตรีล้านนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Education for Lanna Women’s Development Center, CMU
ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Women’s Studies Program, CMU
ศูนย์สตรีศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
Women’s Studies Center, KKU
ศูนย์สตรีอีสานเพื่อการพัฒนาสตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Isan Women Center For Women’s Development, KKU
เขตภูมิภาค

กลุ่มเพื่อนหญิงอำนาจเจริญ
Friends of Amnartcharoen Women Group
เครือข่ายแม่หญิงล้านนา
Lanna Women Network
เครือข่ายผู้หญิงอีสาน
Isan Women Network
โครงการสตรีและเยาวชนลำพูน
Women and Youth Program of Lamphoon
ชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านผู้หญิงและผู้นำสตรี  9  จังหวัด ภาคเหนือ
Kamnan, Phuyaiban and Women Leaders’ Club of 9 Northern Provinces
ชมรมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านและผู้นำสตรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Kamnan, Phuyaiban and Women Leaders’ Club of Northeast
ชมรมเครือข่ายพิทักษ์เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ จังหวัดสกลนคร (คพร.สน.)
Network for Protection of Constitution Ideal’s Club of Sakon Nakhon
ชมรมผู้นำสตรีท้องถิ่น จ.สกลนคร
Local Women Leaders’ Club of Sakon Nakhon
ชมรมผู้นำสตรีภาคใต้
Southern Women Leaders’ Club
ชมรมผู้นำสตรีหนองบัวลำภู
Women Leaders’ Club of Nong Bua Lamphu
ชมรมส่งเสริมบทบาทสตรี นครราชสีมา
Women’s Role Promotion Club of Korat
ชมรมสตรีเขต 7 ชะอำ จ.เพชรบุรี
Women’s Club of Zone 7, Cha-am, Phetburi
ชมรมสตรีอาสาพัฒนาภาคเหนือตอนล่าง
Development Volunteers’ Club of Lower North
สมาคมส่งเสริมและพัฒนาอาชีพชนบทศรีสะเกษ
Assoc for Promotion and Development of Rural Women’s Vocation, Sisaket
ชมรมสตรีศรีสองแคว จ.พิษณุโลก
Women’s Club of Sri Song Khaew, Phitsanulok
องค์การติดตามการดำเนินการทางการเมืองเรื่องสตรี  (ตมส.) จังหวัดกาฬสินธุ์
Gender Watch Group, Kalasin
องค์กรติดตามการดำเนินการทางการเมืองเรื่องสตรี  (ตมส.)  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Gender Watch Group, Northeast

แหล่ง  ทิชา ณ นคร 2545  ผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ

ภาคผนวก ๔

สมาชิกเครือข่ายผู้หญิงเพื่อความก้าวหน้าและสันติ



กลุ่มดอกฝ้าย จ.ร้อยเอ็ด
กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ชุมชนหมอกจน จ.สุรินทร์
กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี
กลุ่มพัฒนาสตรีชุมชน ๕ ธันวา
กลุ่มผู้หญิงนครนายก
กลุ่มผู้หญิงสมัชชาคนจน
กลุ่มพัฒนาสตรีชุมชนฟ้าใหม่ จ.เชียงใหม่
กลุ่มรวมใจแม่ค้า จ.ร้อยเอ็ด
กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านโนนรัง
กลุ่มสตรีสหกรณ์การเกษตรเขตปฏิรูปที่ดินวังเหนือจำกัด
กลุ่มอนุรักษ์ป่าไก่คำ จ.อำนาจเจริญ
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต หนองแคน จ.ร้อยเอ็ด
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต  จ.อำนาจเจริญ
คณะกรรมการคาทอลิคเพื่อสตรี
ศูนย์พิทักษ์สิทธิ์หญิงบริการ
คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน
เครือข่ายคนตกงาน
เครือข่ายผู้หญิงไทยพุทธ-มุสลิม จ.สุราษฎร์ธานี
เครือข่ายผู้หญิงอีสาน
เครือข่ายผู้หญิงอีสานใต้ จ.บุรีรัมย์
เครือข่ายผู้หญิงอีสานใต้ จ.นครราชศรีมา
เครือข่ายสตรีล้านนา
เครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนด้านแรงงาน
เครือข่ายออมทรัพย์สตรีสัมพันธ์ จ.ร้อยเอ็ด
โครงการพัฒนาและฟื้นฟูระบบนิเวศน์ลำน้ำพอง
โครงการเพื่อสิทธิเยาวชน เชียงใหม่
โครงการวิจัยเพื่อสตรี
โครงการวิจัยและรณรงค์เพื่อสตรี
ชมรมศิษย์เก่าบูรณชนบทและเพื่อน
ชมรมผู้ดูแลเด็กภาคใต้ ๓ จังหวัด
มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต้านการค้าหญิง
มูลนิธิผู้หญิง
มูลนิธิเพื่อนหญิง
มูลนิธิพัฒนาอีสาน
มูลนิธิสันติภาพและวัฒนธรรม
ศูนย์ข่าวสารันติภาพ
ศูนย์เพื่อน้องหญิง อ.พาน จ.เชียงราย
ศูนย์เพื่อนหญิงอำนาจเจริญ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม  รัฐศาสตร์  จุฬาฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาผู้รับงานไปทำที่บ้าน
ศูนย์สตรีศึกษา  สังคมศาสตร์ ม.เชียงใหม่
สตรีสานสัมพันธ์สู่สันติสุข
สหภาพแรงงานสิ่งทอไทยเกรียง
สหภาพแรงงาน แอล ที ยู
เสมสิกขาลัย
สมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรมชาวไทยภูเขาในประเทศไทย
อาสาสมัครเพื่อผู้หญิงและเด็ก ต.แจ้ช้อน จ.ลำปาง


แหล่ง   จดหมายข่าว เครือข่ายผู้หญิงเพื่อสันติ 2550

ภาคผนวก ๕

อัตราส่วนของผู้หญิงในตำแหน่งตัดสินระดับชาติและระดับท้องถิ่น

ก. ในระบบเลือกตั้ง (สส สว และ ครม) 2543-49
พ.ศ
สส
สว
ครม
ญ (ทั้งหมด)
%
ญ (ทั้งหมด)
%
ญ (ทั้งหมด)
%
2543
na
na
23 (222)
10.4
na
na
2544
39 (418)
9.3
na
na
2 (38)
5.3
2548
46 (405)
11.4
na
na
2 (36)
5.6
2549*
21 (242)
8.7
na
na
3 (35)
8.6

* โดยการแต่งตั้งเป็น สนช หลังรํฐประหาร 2549

. ผู้บริหารในพรรคการเมือง, 2548 and 2549
พรรค
2548
2549
%
%
ไทยรักไทย
8
6.7
na
na
พลังประชาชน
na
na
6
16.7
ประชาธิปัตย์
5
10.2
5
10.2
ชาติไทย
6
10.9
6
10.9
มหาชน
1
7.1
1
7.1
เพื่อแผ่นดิน
na
na
0
0.0
รวม
20
8.4
18
11.32


. ข้าราชการระดับสูง, 2545-2546
ตำแหน่ง
2545
2546
2547
2548
2549
%
%
%
%
%
ปลัดกระทรวง
C 11
na
na
na
na
2
10.5
4
12.9
2
10.5
เลขาธิการ/ผอ
C11
na
na
na
na
1
8.3
2
16.7
2
18.2
รองปลัดกระทรวง
C 10
na
na
na
na
4
7.5
8
14.3
12
21.4
รองเลขาฯ/รองผอ
C 10
na
na
na
na
14
31.8
17
40.5
15
34.9
อธิบดี/ผอ /เลขาฯ
C10
na
na
na
na
16
14.5
20
17.9
19
17.1
รองอธิบดี/รองผอ /รองเลขาฯ  C 9
na
na
na
na
63
24.4
62
23.2
68
25.3
รวม
81
17.8
102
20.9
100
20.2
111
21.8
118
23.1


. ผู้บริหารในการปกครองระดับท้องถิ่น, 2545 - 2549
ระดับl
2545
2549
%
%
กทม
61
14.6
72
17.4
ท้องถิ่น (ยกว้น กทม)
na
na
18,273
11.3
ท้องที่


3,001
4.1
กำนัน
na
na
228
2.9
ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วย ผญบ
na
na
2,773
4.3
รวม
61
14.6
21,346
9.1


. กรรมาธิการประจำรัฐสภา ด้านกิจการเด็ก สตรี เยาวชน และผู้สูงอายุ, 2543-2549
พ.ศ.
สภาผู้แทนฯ
วุฒิสภา
%
%
2543
na
na
7
46.7
2544
10
62.5
na
na
2548
6
35.3
na
na
2549*
6
50.0
na
na

*สนช โดยแต่งตั้ง
แหล่ง: รายงานสถิติจำแนกเพศของประเทศไทย , 2551. กรุงเทพ: UNDP. 2008


 ภาคผนวกที่ ๖
ปฏิทินความก้าวหน้าของสถานภาพหญิงไทยในรอบ ๔๐ ปี

พ.ศ.
ความก้าวหน้าของสถานภาพหญิงไทย
2517 
รัฐธรรมนูญพ.ศ.2517 “ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน" (มาตรา 28) และ มีเวลา 2 ปีในการทบทวนกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เป็นการเลือกปฏิบัติต่อสตรี (มาตรา 23) แต่มาตรานี้ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อมีการปฏิวัติรัฐประหารในปี 2519
2519
รศ.วิมลศิริ ชำนาญเวช  (ทบวงมหาวิทยาลัย) และ คุณหญิงเลอศักดิ์ สมบัติศิริ (กระทรวงคมนาคม) ได้รับแต่งตั้งให้เป็น รัฐมนตรี
2522
มีแผนพัฒนาสตรี ระยะยาวฉบับแรก (2522-2544) จัดทำโดยคณะทำงานในคณะอนุกรรมการพัฒนาบทบาทและสถานภาพสตรี
2528
ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคีในอนุสัญญา CEDAW โดยมีข้อสงวน 7 ข้อ
2532
สำนักงาน กสส สังกัดสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
2533
ประเทศไทยยกเลิกข้อสงวนในอนุสัญญา CEDAW 2 ข้อ
2534 
มติ ครม: เปิดโอกาสให้สตรีสามารถดำรงตำแหน่งได้ทุก ตำแหน่ง ยกเว้นตำแหน่งที่เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ 
• ข้าราชการหญิงมีสิทธิลาคลอดเพิ่มจาก 60 วัน เป็น 90 วัน (30 วันเป็นการลาคลอดที่ต้องลาเพิ่มเติมจากวันลากิจ)
2535
มติ ครม: ให้ ปี 2535 เป็น ปีสตรีไทย
ประเทศไทยยกเลิกข้อสงวนในอนุสัญญา CEDAW อีก 1 ข้อ
เป็นครั้งแรกที่รัฐบาล (สมัยนายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย) มีนโยบายเร่งด่วนเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การขัดหาโสเภณีเด็ก และการเปิดโอกาสให้สตรีสามารถประกอบอาชีพได้เท่าเทียมกับชาย
ท่านผู้หญิงสุมาลี จาติกวนิช ได้เป็นผู้ประสานงานการเตรียมการประชุมระดับ โลกว่าด้วยเรื่องสตรี (ภาคองค์กรเอกชน) ของภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก
2536
คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ ได้เป็นประธานการจัดประชุมระดับโลกว่าด้วยเรื่องสตรี (ภาคองค์กรเอกชน)  
มติ ครม: ยกเลิกข้อห้ามการแต่งตั้งสตรีเป็นปลัดอำเภอ 
            คนงานหญิงในภาคเอกชน มีสิทธิลาคลอด 90 วัน (จ่าย 45 วันจากกองทุนประกันสังคม อีก 45 วันจากนายจ้าง)
2538
รัฐธรรมนูญ (ฉบับที่5)พ.ศ.2538 เพิ่ม “ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน แต่ไม่มีบทเฉพาะกาลให้แก้ไขกฎหมายที่ไม่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยยกเลิกข้อสงวนในอนุสัญญา CEDAW เพิ่มอีก 2 ข้อ
• แต่งตั้งพนักงานสอบสวนหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกจำนวน 15 คน
ประเทศไทยร่วมรับรองปฏิญญาปักกิ่ง
2539
มติ ครม: นโยบายและแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาธุรกิจบริการทางเพศ
พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.2538 หลังจากที่มีการพยายามเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวกว่า10 ปี (คุ้มครองผู้ค้าประเวณี เพิ่มโทษผู้เกี่ยวข้องในการนำเด็กเข้าสู่กระบวนการค้าธุรกิจทางเพศ และผู้ใช้บริการ)
ประเทศไทยร่วมรับรองปฏิญญาต่อต้านการค้าประเวณีเด็ก
มติ ครม: ห้ามสถาบันการศึกษาจำกัดจำนวนรับชาย-หญิงในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย
2540
·     รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 “…ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน และห้ามการเลือกปฏิบัติ...” (มาตรา 30) และ “…รัฐต้องส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย…” (มาตรา 80)
·     มติ ครม: ยกฐานะสำนักงานกสส เป็นกรม
·     พรบ มาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็กที่ขยายการคุ้มครองไปถึงเด็กชายด้วย
2542
·     กระบวนการสอบปากคำและการสอบพยานเด็กมีวิธีการที่คำนึงถึงสภาพจิตใจเด็กที่ถูกกระทำรุนแรงมากขึ้น ตามพรบ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 20 ) พ.ศ. 2542
2543
·     ระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย คกก สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีผู้หญิงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
2544
·     มติ ครม: ผู้บริหารด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิงชายยกระดับเป็นกระทรวง ทบวง กรม และให้มีศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาคหญิงชาย
·     ระเบียบ คกก กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ  “… คกก กองทุน จำนวนไม่น้อยกว่า 9 คนแต่ไม่เกินสิบห้าคน ประกอบด้วยกรรมการทั้งชายและหญิง ในสัดส่วนที่เท่าเทียมกัน …” และให้ใช้คำว่าผู้แทนครัวเรือนแทน หัวหน้าครัวเรือน
·     สำนักงาน คกก ข้าราชการพลเรือนมีหนังสือให้ทุกส่วนราชการดำเนินการตามแนวทางการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชายของ สำนักงาน ก.พ.
2545
·     ปฏิรูประบบราชการ  กสส รวมกับกรมประชาสงเคราะห์และกรมการพัฒนาชุมชน และยกฐานะเป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
2546
·     หญิงสามารถเลือกใช้นามสกุลของตนเองหรือสามีได้
2550
·     กฎหมายว่าด้วยความรุนแรงในครอบครัว  การข่มขืน และคำนำหน้านาม ได้ผ่าน สมัขขานิติบัญญัติแห่งชาติ


เอกสารประกอบการศึกษา
คณะทำงานพัฒนาแนวทางเสนอข่าวประเด็นผู้หญิง  ๒๕๔๙ แนวทางการเสนอข่าวเรื่องเพศ. กรุงเทพฯ: สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย 
จุรี วิจิตรวาทการ  และกนกกาญจน์ อนุแก่นทราย ๒๕๔๖ ภาคประชาสังคมกับการบริหารกิจการบ้านเมืองในประเทศไทย  กรุงเทพฯ: ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม   สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ทิชา ณ นคร และ คณะ   ๒๕๔๕ ผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ: บันทึกการเดินทางสู่ความเสมอภาค.  กรุงเทพฯ: เครือข่ายผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ
บัณฑิตย์ ธนชัยเศรษฐวุฒิ (บรรณาธิการ)    ๒๕๔๒ การต่อสู้ของขบวนการแรงงานสตรีไทย (The struggle of the Thai women labour movement)   กรุงเทพฯ: มูลนิธิอารมณ์ พงศ์พงัน   กลุ่มบูรณาการแรงงานสตรี  มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท  
มาลี พฤกษ์พงศาวลี ๒๕๕๐ สิทธิความเป็นคนของผู้หญิง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และ โครงการสตรีและเยาวชนศึกษา  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มูลนิธิผู้หญิง  ๒๕๔๓ ขบวนยุทธหญิงไทยในศตวรรษที่ ๒๑  กรุงเทพฯ: มูลนิธิผู้หญิง 
สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายฯ  รายงานการดำเนินงาน คณะกรรมการบริหาร พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๐
สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายฯ ๒๕๓๕  เครื่องหมายความรุ่งเรือง คือ สภาพแห่งสตรี. กรุงเทพฯ: สมาคมบัณฑิตสตรีทางกฎหมายฯ 
สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา  ๒๕๔๕ ๑๒ ปี  สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา.  กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา

APWLD. 2007. Claiming Rights, Claiming Justice: A guidebook on women human rights defenders. Chiangmai: Asia Pacific Forum on Women, Law and Development (APWLD).
Brown, Andrew. 2001. “After the Kader Fire: Labour Organising for Health and Safety Standards in Thailand.” In Organising Labour in Globalising Asia. Jane Hutchison and Andrew Brown (ed.). London: Routledge. pp. 127–46.
Brown, Andrew, and Stephen Frenkel. 1993. “Union Unevenness and Insecurity in Thailand.” In Organized Labor in the Asia-Pacific Region: A Comparative Study of Trade Unionism in Nine Countries. Stephen Frenkel (ed.). Ithaca, NY: ILR Press. pp. 82–106.
Bunmongkhol, Phimpawan, Nartrudee Denduang and Nikorn Sanhajariya, 2002. Manual for promotion of gender equality in work and labour rights in Thailand. Nakhon Pathom: Mahidol University.
Costa, LeeRay. 1999. “Discourses of Invisibility: Gender, Epistemology, and Thai NGOs.” Paper presented at the Seventh International Conference on Thai Studies, Amsterdam, July 4–8.
FFW. Voices of Thai Women.  (All issues, in Thai and in English)
FOW. Friends of Women’s Magazine  (All issues, in Thai)
GDRI.  GWG Newsletter. (All issues)
GDRI. 6 Years Gender and Development Research Institute.  Bangkok: GDRI. 1996.
Harcourt, Wendy, and Arturo Escobar. 2002. “Women and the Politics of Place.” Development 45(1):7–14.
Harcourt,Wendy, Lila Rabinovich, and Fatma Alloo. 2002. “Women’s Networking and Alliance Building: The Politics of Organizing in and around Place.” Development 45(1):42–47.
Hewison, Kevin, and Andrew Brown. 1994. “Labour and Unions in an Industrialising Thailand.” Journal of Contemporary Asia 24(4):483–514.
Jeffrey, Leslie Ann. 2002. Sex and Borders: Gender, National Identity, and Prostitution Policy in Thailand. Vancouver: University of British Columbia Press.
Lowe, Lisa. 1997. “Work, Immigration, Gender: New Subjects of Cultural Politics.” In The Politics of Culture in the Shadow of Capital, Lisa Lowe and David Lloyd (ed.). Durham, NC: Duke University Press. Pp. 354–74.
Marchand, Marianne H., and Anne Sisson Runyan, eds. 2000. Gender and Global Restructuring: Sightings, Sites and Resistances. London: Routledge.
Mills, Mary Beth. 1997. “Contesting the Margins of Modernity: Women, Migration, and Consumption in Thailand.” American Ethnologist 24(1):37–61.
———. 1999a. Enacting Solidarity: Unions and Migrant Youth in Thailand.” Critique of Anthropology 19(2):175–91.
———. 1999b. Thai Women in the Global Labor Force: Consuming Desires, Contested Selves. New Brunswick, NJ: Rutgers University Press.
———. 2001. “Auditioning for the Chorus Line: Gender, Rural Youth, and the Consumption of Modernity in Thailand.” In Gendered Modernities: Ethnographic Perspectives, ed. Dorothy L. Hodgson, 27–51. New York: Palgrave.
———. 2003. “Gender and Inequality in the Global Labor Force. Annual Review of Anthropology 32:41–62.
———. 2005. “From Nimble Fingers to Raised Fists: Women and Labor Activism in Globalizing Thailand”, Signs: Journal of Women in Culture and Society 2005, vol. 31, no. 1
Mokate, Karen (ed.). 2004. Women’s Participation in Social Development: Experiences from Asia, Latin America and the Caribbean. Washington,DC: IDB.
Muecke, Marjorie A. 1992. “Mother Sold Food, Daughter Sells Her Body: The Cultural Continuity of Prostitution.” Social Science and Medicine 35(7): 891–901.
Nawarat, Nongyao. 1994. "Promotion of Women in Local Government in Thailand," in Anne Seyfferth, ed., Women Claim Their Rights in Local Politics: Strategies to Increase Women's participation in Local Government and Administration in South and Southeast Asia. Bangkok: Friedrich-Ebert-Stiftung,
Paley, Julia. 2001. Marketing Democracy: Power and Social Movements in Postdictatorship Chile. Berkeley: University of California Press.
Piriyarangsan, Sungsidh, and Kanchada Piriyarangsan. 1996. “The Industrial Relations in Thailand.” In Industrial Relations System in Thailand. Sungisidh Piriyarangsan and Shigeru Itoga (ed.). Tokyo: Institute of Developing Economies. pp. 1–40.
Pongsapich, Amara, and Wimolsiri Jamnarnwej. 1998. Sociolegal Status of Women in Thailand. Bangkok: Thailand National Commission on Women's Affairs (NCWA).
Sinnott, Megan. 2004. Toms and Dees: Transgender Identity and Female Same-Sex Relationships in Thailand. Honolulu: University of Hawaii Press.
Sirisambhand, Napat. 1996. Social Security for Women in the Informal Sector in Thailand. Bangkok: Friedrich-Ebert-Stiftung.
Skrobanek, Siriporn, Nataya Boonpakdee, and Chutima Jantateero. 1997. The Traffic in Women: Human Realities of the International Sex Trade. London: Zed.
Somswasdi Virada. 1997. Some Pertinent Legal and Social issues on Women in Thailand.  Women's Studies Center, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University, March.
Stephen, Lynn. 1997. Women and Social Movements in Latin America: Power from Below. Austin: University of Texas Press.
TW2. 1999. Thailand’s 1st NGO Alternative Report on the Implementation of the Convention on the Elimination of all forms of Discrimination Against Women (CEDAW).  Bangkok: CEDAW NGO Report Working Group, Thai Women Watch (TW2).
TW2. 2003.  Thailand’s 2nd NGO Alternative Report on the Implementation of the Convention on the Elimination of all forms of Discrimination Against Women (CEDAW).  Bangkok: CEDAW NGO Report Working Group, Thai Women Watch (TW2).
_____. 1999. “Thailand’s NGO Report for Beijing Plus Five”. Paper presented at The Asia Pacific Regional NGO Symposium: Beijing +5, Kamphaengsaen, Nakhon Pathom, Thailand.
_____. 2005. “Thailand’s NGO Report for Beijing Plus Ten”. Paper presented at The Asia Pacific Regional NGO Symposium: Beijing +10, Salaya, Nakhon Pathom, Thailand.
_____. TW2 Newsletter (in Thai)
Tantiwiramanond, Darunee, and Shashi Ranjan Pandey. 1991. By Women, For Women: A study of woen’s organizations in Thailand. Singapore: ISEAS.
Thailand.  Thailand Official I and II Cedaw Report
Thailand, 1995. Thailand's Report on the Status of Women and Platform for Action.  Bangkok: National Commission on Women's Affairs (NCWA), Office of the Prime Minister.
_____. 1996. Thailand's Combined Second and Third Report to the Committee on the Elimination of Discrimination against Women. Bangkok: NCWA.
_____. 1997. Women's Development Plan during the Period of the Eighth National Economic and Social Development Plan. Bangkok: NCWA. (in Thai).
_____. 1999. Statistics on Women and Men in Thailand. Bangkok: NCWA.
Theobald, Sally. 2002. “Working for Global Factories: Thai Women in Electronics Export Companies in the Northern Regional Industrial Estate.” In Women and Work in Globalising Asia. Dong-Sook S. Gills and Nicola Piper (ed.). London: Routledge. pp. 131–53.
Thomson, Sheila Sukonta. 1995. Thai Women in Local Politics.  Bangkok: Friedrich Ebert Stiftung and Gender and Development Research Institute.
Thomson, Suteera and Maytinee Bhongsvej, Profile of Women in Thailand, UN-ESCAP, Bangkok,
_____. 1995. "Asian Women in Manufacturing: Old Problems, New Challenges". In Global Employment: An Analytical lnvestigation into the Future of Work, Mihaly Simai (ed.). Tokyo: Zed Books Ltd., and United Nations University Press, pp. 167-181.
_____. 1995. "Toward the Third Decade of Women's development in Thailand: Progress, Problems and Prospects," paper presented at a conference on Strategies for Women's Development and the Status of Women in Thailand, Bangkok (in Thai).
Ungpakorn, Ji Giles. 1999. Thailand: Class Struggle in an Era of Economic Crisis. Hong Kong: Asia Monitor Resources Center.
UNDP and UNIFEM. 2000. 2000 Gender and Development: Facts and figures in Thailand. Bangkok: UNDP.
Vichit-Vadakan, Juree.   “Thai Civil Society: Exploring a Diverse and Complex Landscape” in Civil Society in Asia.
Vichit-Vadakan, Juree, and Kanokkarn Anukaensai. 2003. Civil society and public administration in Thailand. Bangkok: Center of Public Philanthropy and Civil Society, NIDA (in Thai)
Yunibhand, Jintana, ed. 1997. Advancement of Thai Women in 1996. Bangkok: Thai Women Watch and the National Council of Women of Thailand.

จดหมายข่าว
เครือข่ายผู้หญิงเพื่อความก้าวหน้าและสันติภาพ (เครือข่ายผู้หญิงเพื่อความก้าวหน้าและสันติภาพ/มูลนิธิผู้หญิง)
ตมส  (สถาบันวิจัยบทบาทหญิงชายและการพัฒนา)
ตพส ไทย
ศูนย์ข่าวผู้หญิง  (มูลนิธิผู้หญิง)

Internet sources
TW2. 2003. Thailand Second NGO Alternative Report on the implementation of CEDAW. (http://www.iwraw-ap.org/resources/pdf/Thailand2005.pdf)

UNDP & UNIFEM. 2000 Gender and Development: Facts and Figures in Thailand (http://www.unifem-eseasia.org/resources/others/gendev/toc.htm)


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น